Page 76 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 76
8-66 ภาษาถน่ิ และวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
เร่ืองท่ี 8.3.1
ชีวิตและความเป็นอยู่
วถิ ชี วี ติ ของคนอสี านเปน็ การดำ� เนนิ ชวี ติ แบบ “สงั คมชาวนา” หรอื “สงั คมเกษตรกรรม” เปน็ หลกั
โดยเฉพาะการท�ำนาเพ่ือให้ได้ข้าวไว้เป็นอาหารหลัก โดยมีการเล้ียงสัตว์หาปลาจับสัตว์น�้ำเพื่อน�ำมาเป็น
อาหารเป็นกับข้าวเพื่อเล้ียงปากเล้ียงท้องในชีวิตประจ�ำวันของคนในท้องถ่ิน และมีชีวิตความเป็นอยู่แบบ
เรียบงา่ ย ผสมผสานกับคตคิ วามเช่ือดั้งเดมิ และพุทธศาสนา ซึ่งสะท้อนใหเ้ ห็นผ่านวรรณกรรมทกุ ประเภท
โดยเฉพาะในวรรณกรรมนิทานได้สะท้อนให้เห็นผู้คน วิถีการด�ำเนินชีวิตและความเป็นอยู่ คติความเช่ือ
คา่ นยิ ม และโลกทศั นข์ องผคู้ นไวอ้ ยา่ งมากมาย ถงึ แมว้ รรณกรรมนทิ านบางเรอื่ งจะรบั มาจากทอี่ น่ื แตก่ ไ็ ด้
มีการปรับเปล่ียนเน้ือหาบางส่วนเพ่ือให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของท้องถิ่นตนเอง และถูกน�ำ
เสนอผา่ นตวั บทวรรณกรรมนทิ านทอ้ งถน่ิ ทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม โดยเฉพาะการทำ� นา และคา้ ขาย บางเรอ่ื ง
อาจน�ำเสนอผา่ นพฤตกิ รรมของตวั ละครเอก แตบ่ างเรอ่ื งอาจนำ� เสนอผ่านภาพบรรยากาศตลาดท่ีตัวละคร
เอกเดินทางผ่านสถานท่ีต่างๆ ตลอดถึงการกล่าวถึงสินค้าท่ีน�ำมาขายด้วย บางเรื่องอาจนำ� เสนอใหเ้ หน็
เฉพาะขอ้ ความทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การทำ� นาทำ� ไร่ ไมไ่ ดบ้ รรยายใหเ้ หน็ ภาพ ในวรรณกรรมสำ� นวนร้อยกรองอาจ
ไมบ่ รรยายภาพไดช้ ดั เจนเหมอื นวรรณกรรมสำ� นวนรอ้ ยแกว้ ดงั ตวั อยา่ งในเรอ่ื งพญาคนั คาก ตอนพรรณนา
สภาพบา้ นเมอื งของพญาคนั คาก ทบ่ี า้ นเมอื งเจรญิ รงุ่ เรอื งอยเู่ ยน็ เปน็ สขุ ฟา้ ฝนตกตอ้ งตามฤดกู าล ชาวเมอื ง
ได้ท�ำนาท�ำสวน ท�ำไร่ ค้าขายแลกเปล่ียนกัน บ้านเมืองสงบสุขไม่มีโจรขโมย สิงสาราสัตว์อุดมสมบูรณ์
เต็มบ้านเต็มเมือง ไมม่ ีความทุกขร์ อ้ น ข้อความว่า
บ่ได้มีเดือดฮ้อน ฝูงไพร่ชาวเมือง
ชลทาฝน หล่ังลงลินย้อย
ยูท่าง แปงการสร้าง นาสวนฮั้วไฮ่
ขายจ่ายซื้อ การสร้างฮุ่งเฮือง
บ่มี ทุกข์ยากแค้น ยาดแย่งขโมยโจร
อยู่ส�ำบาย กะเสิมสุข ท่ัวเมืองชาวค้า
ปูปลาน�้ำ นทีนองล้นฝั่ง
งังควายแลช้าง เต็มแน่นทั่วเมือง
(พระอรยิ านวุ ตั ร, 2513, น. 2)
สว่ นวถิ กี ารดำ� เนนิ ชวี ติ และความเปน็ อยใู่ นวรรณกรรมสำ� นวนรอ้ ยแกว้ จะบรรยายไดช้ ดั เจนมากกวา่
ดงั ตวั อยา่ งในเรอ่ื งพระลกั พระลามสำ� นวนรอ้ ยแกว้ แมจ้ ะเปน็ วรรณกรรมทร่ี บั มาจากถนิ่ อน่ื แตก่ ม็ กี ารปรบั
เปล่ียนและน�ำเสนอให้เห็นวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ของคนอีสานผ่านตัวบทวรรณกรรมอย่างชัดเจน โดย