Page 80 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 80
8-70 ภาษาถ่นิ และวรรณกรรมท้องถิน่ ไทย
เนอ่ื งจากคตคิ วามเชอ่ื ดา้ นพทุ ธศาสนาเปน็ ทร่ี แู้ ละเขา้ ใจดแี ลว้ ทง้ั หลกั ศลี และหลกั ธรรมตา่ งๆ อนั
เปน็ หลกั ในการยดึ ถือปฏบิ ตั ิ จงึ ไมข่ อยกตวั อยา่ ง แตใ่ นท่ีนจี้ ะยกตวั อยา่ งคตคิ วามเชื่อดง้ั เดมิ ทมี่ คี วามโดด
เด่นเป็นอัตลักษณ์ของชาวอีสานเพ่ือเป็นตัวอย่างซึ่งปรากฏในวรรณกรรมท้องถ่ินอีสาน ได้แก่ คติความ
เชอ่ื เก่ยี วกบั แถน และคตคิ วามเชอ่ื เกีย่ วกับนาคหรือนาคาคติ
แถน หรอื ผฟี า้ ผแี ถน เปน็ คตคิ วามเชอ่ื ดง้ั เดมิ และโดดเดน่ ของชาวอสี าน เปน็ คำ� เรยี กผที อ่ี ยบู่ นฟา้
ที่เป็นเทพเจ้าสูงสุด มีบทบาทเก่ียวข้องกับความเป็นไปของธรรมชาติในโลกและก�ำหนดชะตาชีวิตของ
มนษุ ย์ มอี ำ� นาจทจ่ี ะดลบนั ดาลใหเ้ กดิ ความเปน็ ไปตา่ งๆ ทง้ั ทางดแี ละทางรา้ ยตอ่ ชวี ติ คนและพชื สตั วต์ า่ งๆ
ในโลก โดยมีแถนหลวงเป็นหวั หน้าแถนท้ังปวง คติความเช่อื เกีย่ วกับแถนน้นั ปฐม หงษส์ ุวรรณ (2554,
น. 390) กล่าวว่า ชาวไทในลุ่มน�้ำโขงต้ังแตอ่ าณาจักรเชียงแสนจนถงึ อาณาจกั รล้านช้างและในภาคอสี าน
ตา่ งก็มคี วามเชือ่ ในเรอ่ื งแถนเหมอื นๆ กนั และชาวอีสานเชือ่ วา่ ผฟี ้าหรือผฟี า้ พญาแถนคือผู้ทีม่ อี ำ� นาจมี
อทิ ธฤิ ทธ์ิย่ิงใหญ่ทสี่ ดุ เพราะเป็นผสู้ รา้ งสรรพสิ่งในโลก ทั้งมนษุ ย์ สตั ว์ พืช และธาตุตา่ งๆ รวมท้ังเปน็ เทพ
แห่งฝนท่ีคอยควบคุมฤดูกาลต่างๆ ดังที่ปรากฏในวรรณกรรมเร่ืองขุนบรมที่กล่าวว่า โลกนี้เกิดข้ึนด้วย
อ�ำนาจของแถน และแถนยังเป็นผู้สร้างและผู้ควบคุมสรรพส่ิงท้ังหลายในโลก โดยได้ส่งขุนบรมลงมา
ปกครองมนุษย์ นอกจากน้ีชาวอีสานยังเช่ือว่าแถนเป็นเทพแห่งฝนท่ีคอยควบคุมนาคเล่นน้�ำท�ำให้เกิดฝน
แก่โลกมนุษย์ เม่ือฝนไม่ตกเช่ือว่าเป็นเพราะแถนโกรธเพราะสาเหตุใดสาเหตุหนึ่ง เช่นไม่พอใจท่ีมนุษย์
ประพฤติช่ัว ไม่ปฏิบัติตามครรลองคองธรรม เป็นต้น ก็จะมีการท�ำพิธีบวงสรวงอ่อนน้อมแต่แถน มีการ
เทศนเ์ รอ่ื งพญาคนั คากและทำ� พธิ ขี อฝน โดยชาวบา้ นจะพากนั นงุ่ ขาวหม่ ขาว สมาทานรกั ษาศลี เพอ่ื ใหแ้ ถน
เกิดความพอใจและจะไดบ้ นั ดาลให้ฝนตก
คตคิ วามเชอ่ื เกย่ี วกบั แถนปรากฏชดั เจนในวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ อสี านหลายๆ เรอื่ ง เชน่ เรอื่ งขนุ บรู ม
ที่แถนเป็นผู้ที่ส่งผู้คนลงมาอยู่เมืองมนุษย์และเกิดเป็นบรรพบุรุษของผู้คนแถบลุ่มน�้ำโขง โดยเฉพาะ
วรรณกรรมเร่ืองพญาคันคากที่ได้สู้รบกับแถนบนเมืองแถน จนเป็นท่ีมาของประเพณีพิธีกรรมต่างๆ อีก
หลาย เช่น พธิ ีแหแ่ ละจดุ บ้ังไฟเพอื่ ใหพ้ ญาแถนใหฝ้ นแก่มนุษย์ การเทศนเ์ รื่องพญาคันคากเพื่อขอฝนกบั
พระยาแถนซึ่งพระยาแถนรบแพ้พญาคันคากตามต�ำนานของท้องถ่ินอีสาน หรือแม้แต่การร�ำผีฟ้าหรือร�ำ
ผีแถนเพ่ือรกั ษาโรคซ่งึ หาสาเหตไุ มไ่ ด้ เพราะเชอ่ื วา่ โรคทเ่ี กดิ จากการกระทำ� ของภตู ผี จงึ ต้องมกี ารรำ� เชญิ
พญาแถนมาขับไล่ผีและคุ้มครองป้องกันภัยแก่คนไข้ให้หายจากอาการเจ็บป่วย และแถนเป็นสัญลักษณ์
ของอำ� นาจเหนอื ธรรมชาตทิ มี่ ที ง้ั ดา้ นดแี ละดา้ นรา้ ยตอ่ มนษุ ยเ์ ชน่ เดยี วกบั อำ� นาจเหนอื ธรรมชาตอิ นื่ ๆ เชน่ กนั
สามารถท่ีจะดลบันดาลให้เกิดความเดือดร้อนให้กับโลกมนุษย์ได้ โดยเฉพาะแถนคือเทพผู้ท่ีคอยควบคุม
นาคใหล้ งเลน่ นำ้� เพอ่ื ใหเ้ กดิ เปน็ ฝนตกลงมาโลกมนษุ ย์ เมอื่ แถนไมพ่ อใจกจ็ ะไมใ่ หน้ าคเลน่ นำ้� ในสระและฝน
ก็จะไม่ตก โลกมนุษย์ก็จะแห้งแล้ง ขาดน้�ำ เป็นทุกข์ไปท่ัวท้ังคน ทั้งพืชและสัตว์ ดังที่ปรากฏในเร่ือง
พญาคนั คาก ตอนทพี่ ญาแถนเหน็ ผคู้ นสรรเสรญิ พญาคนั คากจนไมย่ กยอ่ งบชู าตนเหมอื นเชน่ เคย จงึ โกรธ
และสง่ั ให้นาคไม่ใหเ้ ล่นนำ�้ ฝนจงึ ไม่ตกลงมาโลกมนุษย์ 7 ปี 7 เดอื น จนน�้ำในโลกเกดิ แห้งแลง้ แมแ้ ตน่ ำ้�
ในมหาสมุทรกล็ ดลงเปน็ อยา่ งมาก แมน่ ้ำ� น้อยใหญเ่ หอื ดแหง้ พืชผักเหย่ี วแหง้ ตาย ทำ� ให้เดอื ดร้อนไปทุก
หยอ่ มหญ้า ดังขอ้ ความวา่