Page 85 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 85
วรรณกรรมท้องถนิ่ ภาคอสี าน 8-75
พอฮอด เดือนหกข้ึน บุญหลวงบั้งไฟใหญ่
แต่งให้ เสเนตร์ท้าว หาไม้ดู่หลวง
สามวาแง้น ลวงกลมเหลาเซี่ยน
เลาใหญ่บ้ัง ประมาณได้เก้าวา เจ้าเฮย
นับแต่ เดือนสิบขึ้น บั้งไฟแสนเจาะสิ่ว
หม้ือใส่ต้ัง บั้งไฟได้ออกขุม
ตกแต่งตั้ง ผามใหญ่พญาหลวง
แปงฮูไฟ แต่งดีพะลันฟ้าว
ตั้งแต่ เอาฮูไว้ หลายคืนเจาะซอด
ลงสู่ ขุมทอดไว้ ประมาณได้แปดเดือน
กลางคืนได้ ต�ำบั้งไฟเค็งคื่น
สิบโยชน์แท้ เสียงก้องสนั่นเมือง
กลางวันได้ ต�ำบั้งไฟผัดเผ่ียน กันดาย
ยูท่าง สาวบ่าวซ้อน ซมซู้ม่ายกัน
วันคืนได้ ต�ำบ้ังไฟดังสน่ัน
คือดั่ง เสียงฟ้าฮ้อง ดังก้องทั่วเมือง นั้นแล้ว
(พระอริยานุวัตร, 2524, น. 56-57)
ประเพณีการแตง่ งาน ชาวอีสานเรียกวา่ ประเพณีกินดอง เปน็ อกี ประเพณหี นงึ่ ท่สี �ำคัญในวงรอบ
ของชีวิตคนอีสาน จงึ มักจะนำ� มาเสนอให้เห็นถึงความสำ� คญั ของประเพณดี ังกลา่ วผ่านวรรณกรรมทอ้ งถ่ิน
อีสานเรื่องต่างๆ มากมาย มีท้ังการน�ำเสนออย่างละเอียด ท้ังสินสอดและขั้นตอนพิธีจนถึงบายศรีสู่ขวัญ
เขา้ หอ้ งหอและการกลา่ วถงึ อยา่ งสน้ั ๆ แตก่ เ็ ปน็ ขอ้ มลู ทสี่ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ ความสำ� คญั ของประเพณดี งั กลา่ ว
ผ่านวรรณกรรมท้องถ่ินของอีสาน วรรณกรรมบางเร่ืองมีการกล่าวถึงฉากประเพณีแต่งงานหลายคร้ัง ซึ่ง
สว่ นมากจะกลา่ วถงึ ประเพณกี ารแตง่ งานของตวั ละครเอกฝา่ ยชายและฝา่ ยหญงิ ดงั ตวั อยา่ งในวรรณกรรม
เรอ่ื งทา้ วกำ�่ กาดำ� ตอนทเ่ี จา้ เมอื งไดเ้ รยี กสนิ สอดเปน็ เงนิ หนงึ่ แสนชงั่ ทองหนงึ่ แสนชง่ั ชา้ งพนั ตวั พรอ้ มทง้ั
ควาญช้าง ม้าอาชาไนยพันตัว คนรับใช้ 1,000 คน สะพานเงิน สะพานทองจากบ้านย่าจ�ำสวนไปจนถึง
พระราชวังของเจ้าเมือง โดยพระอินทร์และแถนได้มาช่วยกันเนรมิตสินสอด (เคร่ืองสมมา) ทุกอย่างจน
ครบและท้าวก�่ำก็ได้จัดขบวนแห่สินสอดเดินทางเข้าสู่พระราชวังของเจ้าเมือง เมื่อเจ้าเมืองเห็นก็มีความ
ยินดีรับท้าวก่�ำเป็นลูกเขยเพราะรู้ว่าท้าวก่�ำเป็นผู้มีบุญญาธิการ สามารถหาสินสอดที่ท�ำได้ยากตามท่ีตน
เสนอ ดังขอ้ ความว่า