Page 81 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 81

วรรณกรรมท้องถน่ิ ภาคอีสาน 8-71

แถนก็	    คึดเคียดแค้น	         คันคากฤทธีเฮือง
มันเป็น	  คนมีบุญ	              หลายซุ่มเมืองแถนฟ้า 
แถนก็	    บันดาลให้	            โบกขรณีพญานาค
บ่ให้	    ลงเหล้นน้�ำ	          ในพื้นแม่นที
บ่ให้	    นาโคลอย	              ดีดหางลงหลิ้น
	         เกิดอนตายฮ้อน	        ชลทาน้�ำเขินขาด
ฝนบ่	     ตกหยาดย้อย 	          ฮ�ำพื้นแผ่นดิน 	      เจ้าเฮย
เลยเล่า	  บังเกิดแห้งแล้ง	      ในทวีปชุมพู
	         เถิงเจ็ดปีเจ็ดเดือน	  ฝนบ่ลงฮ�ำพ้ืน
พีชะ	     ในชุมพูกว้าง	         ตายไปแห้งเหี่ยว
	         ท้ังกล้วยอ้อย	        ตายเสี้ยงเก่ือนทะลัง
แม่นว่า	  นทีน้�ำ	              สมุทรหลวงเขินขาด 	 ไปแล้ว
	         แม่น้�ำน้อย 	         เขินแห้งไง่ผง 	       เจ้าเฮย
	         	                     (พระอริยานุวัตร, 2513, น. 20)

       แม้แต่ในวรรณกรรมท่ีรับมาจากวัฒนธรรมอ่ืน ก็มีการสอดแทรกคติความเช่ือเร่ืองแถนไว้เช่นกัน
ดงั เชน่ คตคิ วามเชอื่ เกย่ี วกบั แถนในเรอื่ งพระลกั พระลามทก่ี ลา่ วถงึ พญาแถนทมี่ หี นา้ ทใ่ี นการหลอ่ รา่ งใหก้ บั
เหล่าพรหมหรือเทวดาทส่ี ้ินอายขุ ยั จะจุติไปเกิดในโลกมนษุ ย์ใหม้ รี ปู รา่ งสวยงาม มีอวยั วะครบบรบิ ูรณ์ ถ้า
ไมไ่ ดห้ ลอ่ รา่ งใหมก่ อ่ นลงมาเกดิ กจ็ ะเกดิ เปน็ คนพกิ ลพกิ าร ดงั นนั้ จงึ เปน็ สง่ิ สะทอ้ นใหเ้ หน็ วา่ ชาวอสี านมคี ติ
ความเชื่อเกี่ยวกับแถนน้ันลึกซ้ึง เพราะแถนคือผู้ย่ิงใหญ่ท่ีมีหน้าที่ต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตมนุษย์ใน
หลายดา้ น

       นาคาคติ หรอื คตคิ วามเชอื่ เรอ่ื งนาค เปน็ คตคิ วามเชอื่ ทโ่ี ดดเดน่ มากในสงั คมลาวหรอื สงั คมลมุ่ นำ�้ โขง
โดยมีความเช่ือว่านาคเป็นส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท่ีอยู่เหนือธรรมชาติเพราะผู้บันดาลให้เกิดธรรมชาติ เช่น แม่น�้ำ 
หนอง บึง ภูเขา ฯลฯ และบ้านเมือง ในขณะเดยี วกนั ก็อาจบนั ดาลให้เกดิ ภัยพบิ ตั ถิ งึ ขน้ั บ้านเมอื งล่มจมได้
เม่ืออารยธรรมอินเดียโดยเฉพาะศาสนาพุทธและพราหมณ์แพร่หลายเข้ามา ลัทธิบูชานาคก็ได้ประสม
กลมกลนื เข้าเปน็ สว่ นหน่ึงของลัทธศิ าสนาทีเ่ ขา้ มาใหม่ (สุจติ ต์ วงษเ์ ทศ, 2554, น. 18) ดงั จะเห็นไดจ้ าก
สัญลักษณ์ทางสังคมวัฒนธรรม และประเพณีต่างๆ หลายอย่างล้วนเกี่ยวข้องกับนาค เช่น วรรณกรรม
จิตรกรรม สถาปัตยกรรม ศลิ ปหตั ถกรรม เป็นตน้ โดยเฉพาะปรากฏในพทุ ธศาสนสถานต่างๆ จนกลาย
เป็นรากฐานของระบบความเช่ือส�ำคัญประการหนึ่งของผู้คนในอีสานหรือผู้คนแถบลุ่มน�้ำโขงที่สืบทอดมา
จนถงึ ปัจจุบันวันนี้

       นอกจากน้ี พิเชฐ สายพันธ์ (2539, น. 30) ซึง่ ไดศ้ ึกษา “นาคาคต”ิ ในล่มุ น้�ำโขง ยังกลา่ วอกี วา่
ความเชือ่ เร่ืองนาคเปน็ ความเช่ือทีโ่ ดดเด่นในหมูช่ าวลาว กระทงั่ นกั วชิ าการลาวไดก้ ล่าวว่า ชาวอีสานและ
ลาวก็คือกลุ่มชนที่มีความผูกพันกับค�ำว่า “นาค” หรือเงือกงูมากที่สุด จนท�ำให้รู้สึกว่านาคหรือเงือกนั้น
เป็นปัจจัยหนึ่งที่ไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ในชีวิตประจ�ำวันของคนอีสานและลาว ส�ำหรับพวกเขาแล้ว นาค
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86