Page 77 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 77

วรรณกรรมทอ้ งถ่ินภาคอสี าน 8-67
เฉพาะการทำ� นาเพราะเปน็ สิ่งทผ่ี ู้แต่งคนุ้ เคย และน�ำมาจากวถิ ชี วี ติ จริงของผูค้ นในสงั คมด้วย เช่น ตอนท่ี
กวนนาหลวง (หวั หนา้ คนทำ� นาใหก้ บั เจา้ เมอื ง) ทำ� นา มกี ารบรรยายภาพการไถนาของกวนนาหลวงอยา่ ง
ชดั เจน มกี ารกลา่ วถงึ การหวา่ นกลา้ การประกอบไถกบั ควาย การไถนาและการเกบ็ ไถหลงั จากไถนาเสรจ็
แลว้ ปล่อยควายไปกนิ หญา้ ดังตัวอย่าง

         ปุนะ ทิวะเส ในเมื่อวันลุนฮุ่งเช้า กวนนาหลวงอันเป็นพ่อแห่งท้าวลุนลู่ก็จูงเอาควายไปเถิง
  ท่งนาแล้วก็ห้างดายังแอกแลอ้องทั้งมวล คือว่าเอาแอกไปพาดคอควาย เอาเชือกอ้องผูกมัดดีแล้วก็
  ถือเอายังเชือกอันจักฟาดตีควายไปกับทั้งงอนไถแล้วก็ลวดไถนาเวียนไปเวียนมา...ในเมื่อไถนาไฮ่
  นั้นแล้วบอระบวนดังน้ัน กวนนาหลวงจิ่งปดแอกออกจากคอควายแล้วก็ให้เขาเอาควายไปเล้ียงให้
  กินหญ้ากินน�้ำแล้วกวนนาหลวงจ่ิงอว่ายหน้าส�ำเพาะเพื่อจักเมือหาเฮือน...

         	 (สมยั วรรณอดุ ร, 2556ก, น. 46-47)
       วถิ ชี วี ติ การคา้ ขายกเ็ ปน็ อกี สง่ิ หนงึ่ ทม่ี กี ารนำ� เสนอใหเ้ หน็ ในวรรณกรรมอสี านหลายเรอ่ื งทง้ั การคา้ ขาย
ทางบก ทางนำ้�  บางเรอ่ื งนำ� เสนอผา่ นคาราวานพอ่ คา้ ทง้ั ทางเรอื และคาราวานพอ่ คา้ ทางมา้ คาราวานพอ่ คา้
ทางควาย ซึ่งการค้าขายเป็นลักษณะการแลกเปล่ียนส่ิงของมากกว่าการขายเพื่อหวังผลก�ำไรเหมือนใน
ปจั จบุ นั กลา่ วคือใครอยากได้ส่งิ ของอะไรของคนอ่นื กเ็ อาส่งิ ท่ีตนมไี ปแลกเอา เช่น อยากไดเ้ สอื้ ผา้ ตนเอง
มปี ลาก็เอาปลาไปแลก อยากได้กระบุง ตะกรา้ ตนเองมมี ะละกอเอามะละละกอไปแลก เปน็ ตน้ การแลก
เปล่ียนน้ันเป็นลักษณะการแลกเปลี่ยนท่ีคิดด้านคุณค่า ไม่ได้คิดด้านมูลค่า เป็นการให้เพ่ือเป็นสินน�้ำใจ
ตอบแทนเท่าน้ัน (เป็นคุณค่าทางจิตใจ) ตอนที่นางสีดาพาพระบุตรกับพระลูบไปขายแตงท่ีตลาดในเมือง
จันทบรุ ศี รสี ตั ตนาคกบั แม่ค้าขายแตง ดงั ข้อความว่า

         นางบัวสีแลนางค�ำมีก็พาเจ้าทั้งสามไปเถิงกาดลาดแล้ว นางทั้ง 2 ก็ลวดไปข่าวขายหมาก
  แตงว่า ดูราเจ้าท้ังหลาย บุคคละผู้ใดอยากซ้ือหมากแตงก็จงพากันมาซื้อเอาไปกินเทิน ว่าดังน้ัน เมื่อ
  น้ันชาวกาดลาดลีท้ังหลายจ่ิงขานว่า ดี ๆ แล เจ้าทั้งห้าเอาหมากแตงมาขาย เอาวัตถุเยื่องใดน้ันจา 
  เม่ือนั้นท้าวพระบุตรจ่ิงขานตอบว่า ดูราเจ้าทั้งหลาย คันว่าบุคคละผู้ใดเอาวัตถุอันใดมาซื้อ ข้าก็จัก
  ขายให้น้ันแล ว่าดังนั้นชาวกาดลาดลีทั้งหลายก็เข้ามาซื้อเอาตามกางลาดราคาอันถืกแลแพงน้ันแล

                                                      (สมยั วรรณอุดร, 2556ข, น. 242)
       ในเรอ่ื งปลาแดกปลาสมอ กส็ ะทอ้ นใหเ้ หน็ ถงึ การคา้ ขายจะเปน็ ลกั ษณะของการแลกเปลยี่ นสง่ิ ของ
กนั หรอื เปน็ อาชพี ของผทู้ มี่ ฐี านะมเี งนิ มที องสามารถหาซอ้ื เขา้ ของจากชาวบา้ นและนำ� ไปขายยงั ตา่ งถน่ิ และ
นำ� เอาเขา้ ของตา่ งถน่ิ มาขายในทอ้ งถน่ิ ตนเอง เปน็ ทพ่ี งึ่ พาอาศยั ของชาวบา้ นเมอื่ ชาวบา้ นมเี ขา้ ของสง่ิ ใดท่ี
อยากจะฝากไปขายกร็ บั ฝากไปขายให้ เมอ่ื ขายได้เจ้าของก็จะแบ่งให้พอ่ คา้ สว่ นหนึ่ง เป็นการพงึ่ พาอาศัย
กนั ของคนในสงั คม มีความเอื้อเฟ้อื เผื่อแผ่และเกือ้ กูลกนั ท�ำใหส้ ังคมสงบสขุ และนา่ อยู่
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82