Page 73 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 73

วรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสาน 8-63
            4) 	วรรณกรรมคาํ สอน มเี นอื้ หาเปน็ คตสิ อนใจ สง่ั สอนแนวทางการดำ� เนนิ ชวี ติ ในครอบครวั
และสงั คม โดยยดึ คติธรรมในศาสนาและคตคิ วามเช่ือจารตี ทอ้ งถ่นิ เป็นส�ำคญั
            5) 	วรรณกรรมเบ็ดเตล็ด คือวรรณกรรมท่ีไม่สามารถจัดกลุ่มได้ชัดเจนเหมือนวรรณกรรม
4 ประเภทข้างตน้ ส่วนมากจะเปน็ วรรณกรรมที่เกย่ี วขอ้ งกบั วิถชี วี ติ และพิธกี รรมตา่ งๆ
       2.	 ลกั ษณะฉนั ทลกั ษณท์ เี่ ปน็ ทน่ี ยิ มสงู สดุ ของวรรณกรรมลายลกั ษณข์ องวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาค
อสี าน มี 3 ชนดิ ไดแ้ ก่
            1)	โคลงสารหรอื กลอนอา่ น เปน็ ฉนั ทลกั ษณท์ น่ี ยิ มมากทสี่ ดุ เพราะเหมาะกบั การอา่ นทำ� นอง
ลำ� ของทอ้ งถนิ่ อสี าน และการเทศนท์ ำ� นองลำ� ของวรรณกรรมพทุ ธศาสนาหรอื ชาดกทอ้ งถนิ่ แบบแผนทเ่ี ปน็
ลกั ษณะเฉพาะถ่ิน คอื บทหนงึ่ มี 2 วรรค วรรคหนง่ึ มี 7 คำ�  โดยแบง่ เป็น 2 สว่ น ส่วนหน้า 3 ค�ำ สว่ นหลัง
4 คำ�  อาจจะมคี ำ� เสรมิ ขา้ งหนา้ แตล่ ะบาท และคำ� สรอ้ ยขา้ งหลงั แตล่ ะบาทเพมิ่ ไดอ้ กี 2-4 คำ�  มกี ารกำ� หนด
เสียง เอก โท และนิยมสัมผัสท้ังสระ สัมผัสพยัญชนะและสัมผัสวรรณยุกต์ แต่กฎเกณฑ์ทุกอย่างไม่ได้
เคร่งครัดตายตวั
            2) 	กาพย์ เป็นฉันทลักษณ์อีสานท่ีนิยมน�ำมาประพันธ์วรรณกรรมค�ำสอน ส่วนมากเป็น
วรรณกรรมสนั้ ๆ และนิยมน�ำมาเป็นค�ำเซิ้ง จงึ มกั เรียกว่า กาพยเ์ ซิง้ โดยมแี บบแผนเปน็ ลกั ษณะ เฉพาะ
ท้องถ่นิ ท่ีไม่เคร่งครดั ไมก่ ำ� หนดจำ� นวนบททแ่ี น่นอน โดยบทหนึง่ มี 4 วรรค วรรคหนึ่งมี 7 คำ� หรือ 8 คำ�
และค�ำสุดท้ายของวรรคที่ 1 จะส่งสัมผัสไปยังค�ำในวรรคต่อไปจนกว่าจะจบความ ไม่นิยมค�ำสร้อยและ
ไม่ไดก้ �ำหนด เอกโท เหมือนโคลงสาร และนิยมสมั ผสั สระ
            3) 	รา่ ย นยิ มใชป้ ระพนั ธว์ รรณกรรมพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะวรรณกรรมชาดกคอื แปลภาษา
บาลีเป็นภาษาถ่ินอีสาน และสัมผัสกันแบบร่ายยาวของภาคกลาง ซึ่งวรรณกรรมท่ีนิยมประพันธ์เป็นร่าย
นน้ั มกั จะมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื ใชเ้ ทศน์ จงึ นยิ มประพนั ธแ์ นวชาดกทม่ี บี ทบาลมี าแทรกเปน็ ระยะๆ นอกจากนี้
ยังนิยมประพันธ์บทสตู รขวญั ต่างๆ รวมถึงบทอาราธนา บทคารวะ
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78