Page 74 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 74

8-64 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถ่นิ ไทย

ตอนที่ 8.3
ภาพสะท้อนสังคมและวัฒนธรรมในวรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสาน

โปรดอ่านหัวเรื่อง แนวคดิ และวัตถปุ ระสงค์ของตอนท่ี 8.3 แลว้ ศกึ ษารายละเอยี ดต่อไป

  หัวเรื่อง

          8.3.1 	ชีวติ และความเปน็ อยู่
          8.3.2 	ศาสนาและความเช่ือ
          8.3.3 	ประเพณีและพิธกี รรม
          8.3.4 	ประวัติศาสตร์

  แนวคิด

          1. 	วรรณกรรมนิทานท้องถ่ินภาคอีสานสะท้อนให้เห็นวิถีการด�ำเนินชีวิตและความเป็นอยู่
             คตคิ วามเชือ่ ค่านยิ ม และโลกทศั น์ของผคู้ นไวอ้ ย่างมากมาย ถงึ แมว้ รรณกรรมนทิ าน
             บางเรอื่ งจะรบั มาจากทอี่ นื่ แตก่ ไ็ ดม้ กี ารปรบั เปลย่ี นเนอ้ื หาบางสว่ นเพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั
             วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของผู้คนในท้องถ่ินอีสานและถูกน�ำเสนอผ่านตัวบทวรรณกรรม
             นทิ านท้องถิ่นท้งั ทางตรงและทางออ้ ม

          2. 	วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ อสี านมกั จะเสนอเรอื่ งทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ เกยี่ วกบั คตคิ วามเชอื่ และทศั นะ
             เป็นลักษณะเดียวกันคือได้สะท้อนความเชื่อที่มีเฉพาะพื้นบ้านอีสานและคติความเช่ือ
             ทวั่ ไปของสงั คมไทยทเ่ี ปน็ ความเชอ่ื ดง้ั เดมิ ความเชอื่ ตามหลกั พทุ ธศาสนา และความเชอื่
             ทม่ี ีการผสมผสานระหว่างคตคิ วามเชื่อดัง้ เดมิ กับคตคิ วามเช่อื ตามหลักพุทธศาสนา

          3. 	ชาวอีสานถือได้ว่ามีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์ที่
             สบื ทอดกนั มาอยา่ งยาวนานสะทอ้ นใหเ้ หน็ ผา่ นประเพณแี ละพธิ กี รรมตา่ งๆ ซง่ึ เกย่ี วขอ้ ง
             สัมพันธ์กับวิถีชีวิตของคนตั้งแต่เกิดจนตายจนกลายเป็นอัตลักษณ์เฉพาะของคนอีสาน
             ดังที่ถูกน�ำเสนอให้เห็นผ่านวรรณกรรมท้องถ่ินอีสานแทบทุกเรื่อง มีทั้งประเพณีและ
             พิธกี รรมท่ีเกีย่ วกับการเกดิ การบวช การแต่งงาน และการตาย วรรณกรรมหลายเร่ือง
             กไ็ ดน้ �ำมาถา่ ยทอดไว้และกลายเปน็ ประเพณีท่ีส�ำคญั ของชาวอีสาน

          4. 	ว รรณกรรมทอ้ งถนิ่ อสี านเปน็ แหลง่ ขอ้ มลู อกี แหลง่ หนง่ึ ทเี่ ปน็ เครอื่ งมอื ในการบนั ทกึ เรอื่ งราว
             ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น หรือมีเค้าโครงเร่ืองท่ีสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเร่ืองจริงทาง
             ประวตั ศิ าสตร์ มกั จะเปน็ เรอื่ งเกย่ี วกบั ประวตั ศิ าสตรท์ อ้ งถนิ่ ประวตั สิ ถานทสี่ ำ� คญั หรอื
             ประวตั วิ รี บรุ ษุ ของทอ้ งถน่ิ ทมี่ คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั คตคิ วามเชอื่ และภมู นิ ามสถานทใ่ี นทอ้ งถน่ิ
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79