Page 79 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 79
วรรณกรรมทอ้ งถ่ินภาคอสี าน 8-69
เรื่องท่ี 8.3.2
ศาสนาและความเช่ือ
วรรณกรรมอสี านเกอื บทกุ เรอ่ื งและทกุ ประเภทมกั จะเสนอเรอื่ งทส่ี ะทอ้ นใหเ้ หน็ เกย่ี วกบั คตคิ วามเชอ่ื
และทศั นะเปน็ ลกั ษณะเดยี วกนั คอื สะทอ้ นความเชอื่ ทม่ี เี ฉพาะพนื้ บา้ นอสี านและคตคิ วามเชอื่ ทวั่ ไปของสงั คม
ไทยทเี่ ปน็ ความเชอ่ื ดง้ั เดมิ ความเชอื่ ตามหลกั พทุ ธศาสนา และความเชอ่ื ทมี่ กี ารผสมผสานระหวา่ งคตคิ วาม
เชื่อดง้ั เดิมกับคตคิ วามเชือ่ ตามหลกั พทุ ธศาสนา โดยสรุปมีลกั ษณะเดน่ ๆ ดังนี้
1. คติความเช่ือต่อธรรมชาติ วรรณกรรมอีสานเสนอให้เห็นว่า ธรรมชาติมีอ�ำนาจเหนือมนุษย์
และสามารถใหค้ ณุ ใหโ้ ทษแกม่ นษุ ยอ์ ยเู่ นอื งๆ มนษุ ยต์ อ้ งเคารพยำ� เกรงวญิ ญาณอนั สงิ สถติ อยใู่ นธรรมชาติ
เหลา่ น้นั สง่ิ ท่มี อี ำ� นาจของธรรมชาตินน้ั อาจจะปรากฏในรูปอมนษุ ย์ เชน่ นาค ยักษ์ ครฑุ ภูตผี วิญญาณ
ฯลฯ อำ� นาจเหนอื ธรรมชาตเิ หล่าน้ี มกั จะทำ� ให้คุณแก่มนษุ ย์ท่ีมีคุณธรรม และทำ� ร้ายบคุ คลทีท่ ุศลี
2. คติความเช่ือเกี่ยวกับสิ่งเหนือธรรมชาติ หรือจักรวาลทัศน์ วรรณกรรมอีสานจะด�ำเนินเรื่อง
อยกู่ บั ฉากในโลกทเ่ี ปน็ จนิ ตนาการ นนั่ คอื โลกมนษุ ย์ เมอื งแถนหรอื สวรรค์ เมอื งพญานาคหรอื เมอื งบาดาล
ปา่ หิมพานต์ เขาพระสเุ มรุ และโลกพระศรอี ารยิ ์ จะปะปนอยใู่ นเร่อื งเดยี วกันได้ ซง่ึ สงั คมไทยในสมัยอดีต
ก็มีความเชื่อเช่นน้ี ไม่ได้แยกกันชัดเจนระหว่างโลกจริงกับโลกจินตนาการ วรรณกรรมอีสานได้สร้างโลก
จินตนาการอย่างกว้างขวางกล่าวถึงสัตว์ในป่าหิมพานต์อันลึกลับ สวรรค์อันเป็นสถานที่ร่ืนรมย์และโลก
พระศรีอารยิ อ์ นั เปน็ โลกแหง่ ความสุขและอดุ มสมบรู ณ์อยูเ่ นืองๆ
3. คติความเช่ือเก่ียวกับพุทธศาสนา ส่วนมากจะเห็นหลักค�ำสอนทางพุทธศาสนาที่มักเน้นให้
ผู้คนปฏิบัติตามของผู้คนทุกชนชั้นเพ่ือความสงบสุขของบ้านเมือง อันเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
มนุษยก์ ับมนุษย์ด้วยกนั วรรณกรรมอีสานมีทัศนะและเสนอเรอ่ื งความสมั พนั ธร์ ะหว่างมวลมนุษยชาติ ให้
ช่วยเหลือเกอ้ื กูลกันระหว่างวงศาคณาญาติ และผู้ที่ไมใ่ ชญ่ าตอิ ีกด้วย ฉะนัน้ วรรณกรรมอีสานจงึ มกั เสนอ
ใหเ้ หน็ โทษของบคุ คลทไ่ี มพ่ ยายามสมั พนั ธก์ บั เพอ่ื นมนษุ ยแ์ ละทำ� ชว่ั ดว้ ยโมหจรติ และโทสจรติ หรอื ความ
อจิ ฉารษิ ยา กอ่ ใหเ้ กดิ ความรา้ วฉานของเครอื ญาติ เกดิ การพลดั พราก ผแู้ ตง่ ไดพ้ รรณนาใหเ้ หน็ ความทกุ ข์
ทรมานอย่างสาหัสในการพลัดพราก และในท่ีสุดผู้ที่กระท�ำให้เกิดการพลัดพราก จะได้รับผลวิบากกรรม
อย่างหนัก บางเรอื่ งอาจถงึ แกค่ วามตาย และตกนรกอเวจีตามคติความเชื่อทางพุทธศาสนา
อยา่ งไรกต็ าม แกน่ ของเรอื่ งในวรรณกรรมอสี าน ทงั้ ทเ่ี กยี่ วกบั หลกั ธรรมและความเชอื่ นกี้ ส็ อดคลอ้ ง
กับทัศนะ และความเชื่อของสังคมไทยในสมัยอดีต และอีกประการหนึ่งผู้แต่งวรรณกรรมอีสานมักจะเป็น
พระภิกษุ หรือผู้ทผี่ า่ นการบวชเรยี นศึกษาอบรมมาจากวัด ฉะนั้น วรรณกรรมอีสานจงึ มักมแี กน่ ของเร่ือง
เนน้ ไปทางดา้ นหลักธรรมของพุทธศาสนาเป็นสว่ นมาก โดยเฉพาะกฎไตรลักษณ์ กฎแหง่ กรรม บาป บญุ
นรก สวรรค์ สังสารวัฏหรือชาติหน้า ศีลห้า หลักทศพิธราชธรรมของผู้ปกครอง หลักธรรมเหล่านี้จะ
สอดคลอ้ งกบั การด�ำเนินชวี ิตของชาวพทุ ธ และจารีตประเพณีอีสาน