Page 82 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 82
8-72 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิน่ ไทย
ได้มบี ทบาทในทกุ ๆ ทไี่ ม่ว่าจะเป็นความเชือ่ ในฐานะบรรพชน ในฐานะผ้ปู กปอ้ ง ในต�ำนานการสร้างเมือง
ในวรรณกรรมโบราณ ในศิลปะตกแต่งโบสถ์วิหารหรือปูชนียสถาน หรอื กระทัง่ การสักหมึก สักลายตวั คน
เมื่อพิจารณาคติความเชื่อเรื่องนาคผ่านวรรณกรรมในสังคมลุ่มแม่น้�ำโขงน้ันจะเห็นว่าวรรณกรรมโบราณ
สว่ นมากจะมีความเชอ่ื เกยี่ วขอ้ งกบั นาคทง้ั สน้ิ เชน่ ตำ� นานอุรงั คธาตุ ตำ� นานเมอื งหลวงพระบาง ตำ� นาน
การสรา้ งเมอื งเวยี งจนั ทน์ ผาแดงนางไอ่ ขนุ ทงึ สนิ ไซ เปน็ ตน้ ซง่ึ บทบาทของนาคในวรรณกรรมเรอื่ งตา่ งๆ
นน้ั มคี วามเกยี่ วขอ้ งสมั พนั ธก์ บั มนษุ ยก์ ลา่ วคอื มที ง้ั บทบาทผใู้ หค้ ณุ กบั มนษุ ยแ์ ละบทบาทผใู้ หโ้ ทษกบั มนษุ ย์
ดงั ที่ ปรมนิ ทร์ จารวุ ร (2549, น. 269) กลา่ ววา่ นาคเปน็ สญั ลกั ษณข์ องอำ� นาจเหนอื ธรรมชาตทิ มี่ ที ง้ั ดา้ นดี
และด้านร้ายตอ่ มนุษยเ์ ชน่ เดยี วกบั อำ� นาจเหนือธรรมชาติอ่ืนๆ
คตคิ วามเชอื่ เรอ่ื งนาคหรอื นาคาคตใิ นสงั คมอสี านหรอื สงั คมลมุ่ นำ้� โขงนนั้ มคี วามเขม้ ขน้ เปน็ อยา่ งมาก
และเชื่อว่าใต้แผ่นดินหรือใต้แม่น้�ำโขงเป็นที่อยู่ของพญานาค ดังท่ีปรากฏอยู่ในวรรณกรรมท้องถ่ินอีสาน
หลายๆ เรอื่ ง โดยเฉพาะวรรณกรรมทถ่ี กู ผกู โยงกบั ตำ� นานบา้ นตำ� นานเมอื งทเ่ี กยี่ วกบั พญานาคสรา้ งเมอื ง
ให้มนุษย์หรือบอกสถานที่ให้มนุษย์สร้างเมือง เช่ือว่าพญานาคนั้นเป็นผู้ท่ีมีอิทธิฤทธ์ิ สามารถแปลงกาย
เปน็ มนษุ ยไ์ ด้ สามารถบนั ดาลสง่ิ ดสี งิ่ รา้ ยใหก้ บั มนษุ ยไ์ ด้ เชอื่ วา่ พญานาคนนั้ มที งั้ พญานาคทดี่ แี ละไมด่ ี เมอื่
มนษุ ยท์ ำ� ความดพี ญานาคกจ็ ะอำ� นวยสง่ิ ดๆี เมอ่ื มนษุ ยท์ ำ� ไมด่ กี จ็ ะอำ� นวยสง่ิ ไมด่ ใี หไ้ ดร้ บั ผลแหง่ การทำ� ไมด่ ี
เป็นตน้
คติความเช่ือเก่ียวกับนาคาคติในวรรณกรรมท้องถิ่นอีสานนั้นหลายเร่ืองได้มีการน�ำเสนอภาพให้
เหน็ ท้ังพญานาคท่อี �ำนวยผลใหส้ ่งิ ท่ดี เี มอื่ ผนู้ น้ั เป็นคนดีมบี ญุ วาสนา และพญานาคท่อี �ำนวยผลให้สงิ่ ท่ีไมด่ ี
เป็นการยำ�้ เตือนใหเ้ หน็ วา่ ถ้าท�ำดพี ญานาคก็จะบันดาลสิ่งทีด่ ใี ห้แกม่ นษุ ย์ ถ้าท�ำไม่ดีพญานาคกจ็ ะบนั ดาล
ความเดอื ดรอ้ นหรอื ความวบิ ตั ใิ หแ้ กม่ นษุ ยเ์ ชน่ กนั มนษุ ยก์ จ็ ะมคี วามเกรงกลวั ตอ่ อำ� นาจของพญานาคและ
ให้ความเคารพบชู าเพอื่ แสดงถงึ ความอ่อนนอ้ มต่อพญานาคดังท่ีปรากฏอย่ใู นสังคมลุ่มนำ้� โขง
อนง่ึ แมแ้ ตใ่ นวรรณกรรมเรอ่ื งพระลกั พระลามของอสี านซงึ่ เปน็ วรรณกรรมทไ่ี ดร้ บั อทิ ธพิ ลมาจาก
เรื่องรามายณะของอินเดียหรือรามเกียรต์ิของไทย ก็มีการปรับโครงเร่ือง เปลี่ยนช่ือเมืองเป็นชื่อเมืองใน
ท้องถ่ินและกล่าวถึงการก�ำเนิดของเมืองจันทบุรี ไว้ด้วย อีกท้ังมีการกล่าวถึงทั้งพญานาคที่ให้คุณและให้
โทษกับมนุษย์ พญานาคท่ีให้คุณหลายเหตุการณ์ หลายตอน เช่น พญานาค 7 หัวท่ีบอกให้สร้างเมือง
จันทบุรีศรีสัตตนาคแก่พระยาทัตตะรัตถะท�ำให้บ้านเมืองเจริญรุ่งเรืองอยู่เย็นเป็นสุข พญานาคท่ีเป็น
เจ้าเมืองตักกะสลิ าน้อยทม่ี อบน้องสาวและลกู สาวให้กบั พระลักพระลาม พญานาคท่ีนำ� นางสีดาลงไปเลยี้ ง
ในเมืองบาดาลถึง 15 ปี พญานาคท่ีช่วยนางแพงสีตอนท่ีกลับไปเยี่ยมแม่ หรือพญานาคปัตตะหลุมที่จับ
พระลามลงไปขงั ไวใ้ ตเ้ มอื งบาดาล เปน็ ตน้ ดงั เหตกุ ารณต์ อนทพ่ี ญานาค 7 หวั แปลงกายเปน็ มนษุ ยม์ าบอก
ให้พระยาทตั ตะรตั ถะไปสร้างเหมืองอีกฟากหนงึ่ ของแม่นำ้� โขง ขอ้ ความวา่
เมื่อนั้นพญานาคอันนีระมิตเป็นชายเฒ่าน้ันจ่ิงกล่าวว่า คันว่าลูกหลานจักมาสร้างบ้านแปง
เมืองอยู่ในท่ีนี้แท้ดังน้ัน ก็บ่ควรเจ้าลูกหลานอยู่ในฟากแม่น�้ำก�้ำน้ีแล จงให้เจ้าลูกเจ้าหลานกับทั้ง
บ่าวไพร่ทั้งมวลพากันขว้ามไปสร้างบ้านแปงเมืองอยู่ฟากน้�ำก้�ำพุ้น หากจักอยู่วุฒิสวัสดีหาโพยภัย
อนตายบไ่ ดซ้ ะแล ... เมอื่ นน้ั ชายเฒา่ ขานตอบวา่ ขา้ ผเู้ ปน็ ลงุ นแี้ มน่ พญานาค 7 หวั อนั อยฮู่ กั ษาแมน่ ำ�้
ทน่ี แี้ ล คนั วา่ ลกู หลานไปสรา้ งบา้ นแปงเมอื งอยฟู่ ากนำ�้ กำ้� พนุ้ จงิ่ ใหเ้ จา้ หลานใสช่ อ่ื วา่ เมอื งศรสี ตั ตนาค