Page 84 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 84
8-74 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมทอ้ งถิ่นไทย
2. ชาวอีสานน้ันมีความเช่ือว่าพญานาคนั้นเป็นผู้ที่มีอิทธิฤทธิ์ สามารถแปลงกายเป็นมนุษย์ได้
สามารถบนั ดาลสง่ิ ดสี ง่ิ รา้ ยใหก้ บั มนษุ ยไ์ ด้ เชอื่ วา่ พญานาคนนั้ มที ง้ั พญานาคทด่ี แี ละไมด่ ี เมอ่ื มนษุ ยท์ ำ� ความ
ดพี ญานาคกจ็ ะอำ� นวยสง่ิ ดๆี เมอ่ื มนษุ ยท์ ำ� ไมด่ กี จ็ ะอำ� นวยสงิ่ ไมด่ ใี หไ้ ดร้ บั ผลแหง่ การทำ� ไมด่ ี ชาวอสี านจงึ
มคี วามเกรงกลัวต่ออำ� นาจของพญานาคและให้ความเคารพบชู าเพ่ือแสดงถงึ ความอ่อนนอ้ มตอ่ พญานาค
เร่ืองท่ี 8.3.3
ประเพณีและพิธีกรรม
ชาวอสี านถอื ไดว้ า่ เปน็ กลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ ม่ี คี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งทางดา้ นวฒั นธรรมประเพณที เ่ี ปน็ เอกลกั ษณ์
และมกี ารสบื ทอดกนั มาอยา่ งยาวนาน สะทอ้ นใหเ้ หน็ ผา่ นประเพณแี ละพธิ กี รรมตา่ งๆ ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งสมั พนั ธ์
กบั วถิ ชี วี ติ ของคนตง้ั แตเ่ กดิ จนตายจนกลายเปน็ อตั ลกั ษณเ์ ฉพาะของคนอสี าน เพราะประเพณแี ละพธิ กี รรม
ถอื เปน็ กจิ กรรมทางสงั คมทส่ี รา้ งการเชอ่ื มโยงผกู พนั ระหวา่ งผคู้ นตงั้ แตอ่ ดตี จนถงึ ปจั จบุ นั โดยคตคิ วามเชอ่ื
ตา่ งๆ ของสงั คมอสี านนนั้ มที งั้ เกดิ จากความเชอ่ื ดง้ั เดมิ ทมี่ ที งั้ ผสี างเทวดา ผปี า่ ผแี ถน ตลอดจนผบี รรพบรุ ษุ
ความเชือ่ ทางพทุ ธศาสนาและพราหมณ์-ฮนิ ดทู เ่ี ขา้ มาในภายหลงั ท�ำให้เกิดการผสมผสานกนั จนยากท่จี ะ
แยกออกให้ชัดเจนได้ และกลายเป็นมูลเหตุแห่งการเกิดประเพณีและพิธีกรรมที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์
เฉพาะของคนอีสานมากมาย ดังที่ถูกน�ำเสนอให้เห็นผ่านวรรณกรรมท้องถ่ินอีสานแทบทุกเรื่อง มีท้ัง
ประเพณแี ละพิธกี รรมท่ีเกีย่ วกบั การเกิด การบวช การแตง่ งานและการตาย วรรณกรรมหลายเรอ่ื งกไ็ ดน้ ำ�
มาถ่ายทอดไว้และกลายเป็นประเพณีที่ส�ำคัญของชาวอีสาน ดังเช่น วรรณกรรมเรื่องผาแดงนางไอ่ และ
พญาคันคากท่ีได้กลายเป็นต้นก�ำเนิดของประเพณีบุญบ้ังไฟ และประเพณีการขอฝน ประเพณีบุญบั้งไฟ
เป็นประเพณีท่ีส�ำคัญประเพณีหนึ่งของชาวอีสาน ที่นิยมจัดในช่วงเดือนหกของทุกปี เป็นประเพณีที่ชาว
อีสานทุกหมู่บ้านในชนบทหรือในเมืองได้ยึดถือปฏิบัติสืบต่อกันเรื่อยมา จนกลายเป็นประเพณีท่ีเป็น
เอกลักษณ์อย่างหนึ่งของชาวอีสานท่ีแตกต่างจากภูมิภาคอื่น หรือแม้แต่ชาวอีสานท่ีอพยพไปอยู่ภูมิภาค
อื่นกย็ ังน�ำเอาประเพณีนไ้ี ปจดั เชน่ กนั ดงั ข้อความในเร่อื งผาแดงนางไอว่ า่