Page 83 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 83
วรรณกรรมทอ้ งถิ่นภาคอสี าน 8-73
นั้นเทิน เหตุว่าข้าเฒ่านี้แม่นพญานาค 7 หัวมาบอกให้สร้างแปงให้เป็นบ้านเป็นเมืองนั้นแล ... เม่ือ
นั้นคนทั้งหลายท้ังหญิงชายน้อยใหญ่ทั้งมวล จ่ิงพร้อมกันมาอุสสาภิเษกยังท้าวทัตตะรัตถะข้ึนเป็น
พระยากับท้ังนางวิสุทธิโสดาเป็นราชเทวีเสวยราชสมบัติในเมืองจันทบุรีศรีสัตตนาค ตามนิเทศอัน
นาค 7 หัวมาบอกให้ต้ังเป็นบ้านเป็นเมืองหั้นแล
(สมัย วรรณอุดร, 2556ก, น. 42-43)
(นรี ะมติ = เนรมิต, ขว้าม = ข้าม, ก�ำ้ = ฝา่ ย/ข้าง/เบือ้ งทศิ /ด้าน, อนตาย = อนั ตราย)
นอกจากนช้ี าวอสี านยงั มคี ตคิ วามเชอ่ื วา่ นำ�้ ฝนเกดิ จากการเลน่ นำ�้ ของเหลา่ นาค และเสยี งฟา้ รอ้ ง
เกิดจากการท่ีนาคเอาหางฟาดตีกันจนน�้ำกระเซ็นไปถูกเขาพระสุเมรุเกิดเสียงดังซึ่งกลายเป็นเสียงฟ้าร้อง
ดงั ข้อความในเรือ่ งพญาคันคากว่า
แถนก็ ตกแต่งให้ พญานาคท้ังหลาย
ไปลอย เหล้นแปวคุงคา ดีดหางเหินป้อน
ดีดก้อนน้�ำ ไปท่ัวทุกชมพู
ฝูงหมู่ ชาวเมืองคน ก็ว่าฝนฝนแท้
อันว่า ก้อนน�้ำค้าง พัดเหล่ียมเสาเสมร เม่ือใด
มันก็ เค็งเค็งเสียง ข้ึนเมือเมืองฟ้า
(สขุ ฤดี เอี่ยมบุตรลบ, 2532, น. 104)
จากทก่ี ลา่ วมาจะเหน็ วา่ คตคิ วามเชอื่ ดง้ั เดมิ ของสงั คมอสี านทถี่ กู นำ� เสนอผา่ นวรรณกรรมนนั้ เปน็
สิ่งที่เป็นนามธรรม ไม่สามารถมองเห็นได้ แต่เป็นสิ่งที่สังคมอีสานประกอบสร้างขึ้นในรูปแบบต่างๆ ท้ัง
แถน นาค หรือตลอดถงึ ผตี ่างๆ ทอ่ี ยู่ตามธรรมชาติ และมที ั้งใหค้ ณุ และให้โทษกับมนุษย์ซ่ึงเป็นส่งิ ท่อี ยู่ใน
การรบั รู้ของสงั คมอสี านจนกลายเป็นอตั ลกั ษณ์ทโี่ ดดเด่นของสังคมอสี าน
กิจกรรม 8.3.2
1. คติความเช่ือใดของชาวอีสานที่ยังมีบทบาทและยังฝังแน่นอยู่ในคติความเช่ือและวิถีชีวิตของ
ชาวอีสานจนปัจจุบันน้ี
2. จงอธิบายลักษณะของคติความเชอื่ เก่ียวกับนาคาคตใิ นบรบิ ทสงั คมอีสานโดยสังเขป
แนวตอบกิจกรรม 8.3.2
1. คติความเช่ือเรื่องนาคหรือนาคาคติเป็นคติความเชื่อท่ีมีความเข้มข้นและยังฝังแน่นอยู่ในคติ
ความเชื่อและวิถีชีวิตของคนอีสานจนถึงปัจจุบัน ดังท่ีปรากฏสถานที่ต่างๆ ที่มีการบูชาพญานาคและเช่ือ
วา่ เปน็ ทอี่ ยขู่ องพญานาคหรอื มคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั พญานาคตามวดั หรอื สถานทต่ี า่ งๆ มากมายในภาคอสี าน
ดังเชน่ คำ� ชะโนด จังหวดั อดุ รธานี แก่งอาฮง จังหวัดบงึ กาฬ เป็นต้น กลายเปน็ สถานที่ทีผ่ ู้คนเดินทางไป
กราบไว้บูชาพญานาคมากมาย