Page 78 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 78
8-68 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถ่ินไทย
ในส่วนของวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ที่เก่ียวข้องกับวัฒนธรรมการกินในชีวิตประจ�ำวันน้ันก็ได้ถูก
บรรยายสะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมการกินของชาวอีสานได้อย่างชัดเจน ท้ังส�ำรับกับข้าว อาหาร และข้าว
ดังเช่นข้อความที่ปรากฏในเรื่องพญาคันคากตอนพญาแถนจัดอาหารเล้ียงพญาคันคากและเหล่าทหารใน
พธิ สี ่ขู วญั พญาคนั คาก ดังขอ้ ความวา่
เขาก็ ตกแต่งพร้อม อาหารหลายสัพพะส่ิง
หมกหมอกต้ม แกงส้มแจ่วผง ก็มี
ท้ังลาบก้อย ปิ้งจ่ีหลายประการ
ฝูงหมู่ โยธาเขา เลือกกินมิไฮ้
(สขุ ฤดี เอยี่ มบุตรลบ, 2532, น. 113)
จากตัวอย่างจะเห็นว่า วรรณกรรมได้สะท้อนให้เห็นวัฒนธรรมการประกอบอาหารหรือประเภท
อาหารหลากหลายชนดิ ท้งั การหมก การต้ม การแกง น้�ำพรกิ การลาบ การกอ้ ย การปงิ้ และการจี่ ซ่ึง
เปน็ สิ่งท่ีปรากฏเห็นไดท้ วั่ ไปในสังคมอสี านเก่ียวกับการประกอบอาหารและการกินอาหาร
กิจกรรม 8.3.1
1. จงอธบิ ายถงึ สาเหตทุ ผ่ี แู้ ตง่ ไดน้ ยิ มนำ� เสนอใหเ้ หน็ วถิ ชี วี ติ เกยี่ วกบั การทำ� นาทงั้ ทางตรงและทาง
ออ้ มมากท่ีสุดในวรรณกรรมอีสาน
2. จงอธบิ ายลกั ษณะการคา้ ขายของสงั คมอสี านในอดตี ทสี่ ะทอ้ นอยใู่ นวรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคอสี าน
แนวตอบกิจกรรม 8.3.1
1. ผู้แต่งได้นิยมน�ำเสนอให้เห็นวิถีชีวิตเกี่ยวกับการท�ำนาในวรรณกรรมอีสาน เน่ืองจากวิถีชีวิต
ของคนอีสานเปน็ การด�ำเนินชีวติ แบบสังคมเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทำ� นา ผูแ้ ตง่ อาจมีความคุ้นเคยกบั
ภาพสังคมอีสานท่ีมีการท�ำนาเป็นประจ�ำ จึงได้น�ำภาพท่ีตนเองคุ้นเคยมาประกอบหรือสอดแทรกใน
เนอ้ื เรอ่ื งวรรณกรรมเร่อื งนั้นๆ เพ่ือใหผ้ อู้ า่ นมองเห็นภาพชดั เจนและไดอ้ รรถรสมากย่ิงขน้ึ
2. วิถีชีวิตเก่ียวกับการค้าขายท่ีสะท้อนอยู่ในวรรณกรรมอีสานมีท้ังการค้าขายทางบก ทางน�้ำ
บางเรอื่ งน�ำเสนอผ่านคาราวานพ่อคา้ ทงั้ ทางเรือ และคาราวานพอ่ ค้าทางมา้ คาราวานพอ่ คา้ ทางควาย ซึ่ง
การค้าขายเปน็ ลกั ษณะการแลกเปลยี่ นสง่ิ ของมากกวา่ การขายเพื่อหวังผลกำ� ไรเหมอื นในปจั จบุ นั ซึง่ เป็น
ลักษณะการแลกเปลีย่ นที่คิดด้านคณุ ค่า ไมไ่ ดค้ ดิ ด้านมลู คา่ เปน็ การใหเ้ พ่อื เปน็ สนิ นำ�้ ใจตอบแทนเทา่ นั้น