Page 17 - ทักษะชีวิต
P. 17
การจดั การอารมณ์ ความเครียดและปญั หาทางอารมณ์ 6-7
ทดี่ ี เขา้ กบั คนงา่ ย กนิ นอน ขบั ถา่ ยเปน็ เวลา 2) เดก็ เลย้ี งยาก จะเปน็ เดก็ เจา้ อารมณ์ ขห้ี งดุ หงดิ ปรบั ตวั ยาก
ชอบรอ้ งไห้ กนิ นอน ขบั ถา่ ยไมเ่ ปน็ เวลา และ 3) เดก็ ปรบั ตวั ชา้ จะมลี กั ษณะอารมณท์ เี่ หมอื นเดก็ เลย้ี งงา่ ย
ขอี้ าย เรยี บรอ้ ย แตต่ อ้ งใชเ้ วลานานในการปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สถานการณใ์ หมๆ่ ลกั ษณะพนื้ ฐานทางอารมณ์
ตามที่กล่าวมาส่งผลให้เด็กรู้จักและแสดงอารมณ์ต้ังแต่ยังเป็นทารก และเม่ือเติบโตข้ึนมาบุคคลจะมี
พัฒนาการทางอารมณ์ท่ีซับซ้อนข้ึนอันเป็นผลมาจากการผสมผสานของลักษณะพ้ืนฐานทางอารมณ์ การ
เลย้ี งดู และสภาพแวดลอ้ มรอบตวั ทห่ี ลอ่ หลอมใหบ้ คุ คลมอี ปุ นสิ ยั และการแสดงอารมณต์ อ่ สถานการณต์ า่ งๆ
ในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป ตัวอย่างเช่น ขณะท่ีก�ำลังต่อแถวเพื่อข้ึนรถประจ�ำทางในช่วงเวลาเร่งรีบ
ยามเช้าเพื่อเข้างานให้ทันเวลา ระหว่างน้ันหากถูกบุคคลอื่นเข้ามาแทรกแถวและแซงคิว สถานการณ์น้ี
บางคนอาจจะมอี ารมณโ์ กรธ และแสดงออกถงึ ความโกรธโดยการพดู จาดว้ ยคำ� พดู ทร่ี นุ แรงกบั คนทแี่ ซงควิ
บางคนอาจจะรู้สึกโกรธแล้วเข้าไปท�ำร้ายคนท่ีแซงคิว บางคนอาจจะยืนอยู่เงียบๆ ตามเดิมโดยไม่แสดง
ความไม่พอใจนั้นออกมา อารมณ์จงึ เปน็ สิ่งท่มี ีอิทธพิ ลต่อพฤตกิ รรมและการดำ� เนินชีวิตของมนุษยท์ ุกคน
2. องค์ประกอบของอารมณ์
ในกระบวนการทางอารมณ์ มีองคป์ ระกอบที่สำ� คัญ ดงั น้ี (Passer & Smith, 2009)
2.1 สิ่งเร้าท่ีเข้ามากระตุ้นอารมณ์ (eliciting stimuli) คือ สิ่งเร้าจากภายในและจากภายนอก
ไมว่ า่ จะเปน็ คน สตั ว์ สงิ่ ของ ทเี่ ขา้ มากระตนุ้ ใหเ้ กดิ อารมณไ์ ดอ้ ยา่ งหลากหลาย และเมอื่ รวมกบั ประสบการณ์
ในอดีตบางประการจะท�ำให้สามารถเปลี่ยนสิ่งเร้าธรรมดาท่ัวไปให้กลายเป็นส่ิงท่ีกระตุ้นอารมณ์ได้ เช่น
สนุ ขั สามารถเปน็ สงิ่ เรา้ กระตนุ้ ใหค้ นทช่ี นื่ ชอบสนุ ขั มอี ารมณท์ างบวกทกุ ครงั้ ทไี่ ดพ้ บเจอหรอื ไดเ้ ขา้ ไปสมั ผสั
แต่สุนัขก็สามารถสร้างความกลัวให้กับบุคคลที่เคยถูกสุนัขกัดจนได้รับบาดเจ็บมาก่อนได้เช่นกัน เพราะ
ประสบการณ์ที่เจ็บปวดคร้งั นนั้ ทำ� ให้บุคคลเรียนรแู้ ละเขด็ ขยาดทจ่ี ะเข้าใกลส้ ุนขั แมว้ ่าจะไม่ใชส่ นุ ัขตวั เดมิ
ทเ่ี คยกดั ตนเองมากอ่ นก็ตาม
2.2 การประเมินทางปัญญา (eognitive appraisal) คือ การประเมินทางความคิดเพ่ือตีความ
และใหค้ วามหมายกบั สงิ่ เรา้ ทส่ี มั ผสั ดว้ ยประสาทสมั ผสั ตา่ งๆ และทำ� ใหเ้ กดิ การตอบสนองหรอื การแสดงออก
ทางอารมณ์ เช่น นายบอยพบนายเบิร์ดท่ีก�ำลังเดินทางไปร่วมงานแต่งงานของเพ่ือนร่วมรุ่นคนหนึ่ง แต่
นายบอยไมไ่ ดร้ บั การด์ เชญิ ไปรว่ มงาน ในสถานการณน์ ี้ ถา้ นายบอยตคี วามการทตี่ นเองไมไ่ ดร้ บั การ์ดเชิญ
ว่าเป็นเพราะเพ่ือนรู้สึกเกรงใจ ไม่อยากรบกวน นายบอยก็จะมีอารมณ์ท่ีปกติ ไม่รู้สึกน้อยใจ แต่ถ้านาย
บอยตีความว่าการที่ตนเองไม่ได้รับเชิญเป็นเพราะเพื่อนไม่ให้ความส�ำคัญหรือหลงลืม นายบอย
ก็อาจรู้สึกโกรธ หรือร้สู กึ น้อยใจทตี่ นเองไม่ได้รบั ความส�ำคญั จากเพอื่ นของตน
2.3 ปฏิกิริยาตอบสนองทางร่างกาย (physical response) เปน็ การแสดงปฏกิ ริ ิยาทางรา่ งกายท่ี
เกิดจากการท�ำงานของสมอง อิทธิพลของฮอร์โมน ระบบประสาทอัตโนมัติ และสารส่ือประสาท ท่ีท�ำให้
ร่างกายเกิดการเปล่ียนแปลง เชน่ บุคคลรู้สึกกลวั และตืน่ ตกใจท่ีถูกโจรใชม้ ีดจ้ชี งิ ทรัพย์ ในเวลาน้นั ระบบ
ประสาทอัตโนมัติจะสั่งการให้ร่างกายมีการตอบสนอง ม่านตาขยาย หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตเพ่ิม
หลอดลมและปอดขยาย กระเพาะอาหารและลำ� ไสล้ ดการบบี ตวั เพอื่ ใหม้ คี วามพรอ้ มตอ่ การเผชญิ หนา้ หรอื
หลกี หนีจากสถานการณ์ในภาวะฉกุ เฉนิ นั้น