Page 22 - ทักษะชีวิต
P. 22

6-12 ทกั ษะชีวติ

เรื่องท่ี 6.1.3
ผลของอารมณ์ที่มีต่อตนเองและผู้อื่น

1. 	ผลของอารมณ์ต่อร่างกาย

       อารมณ์ส่งผลโดยตรงต่อการต่ืนตัวทางสรีระ ซึ่งภายในร่างกายของมนุษย์ประกอบด้วยระบบ
ประสาททม่ี ผี ลตอ่ การเกดิ พฤตกิ รรม ไดแ้ ก่ ระบบประสาทสว่ นกลางและระบบประสาทสว่ นนอกทแี่ บง่ ออก
เปน็ 2 ระบบยอ่ ย คอื ระบบประสาทรบั สมั ผสั และระบบประสาทอตั โนมตั ิ (Autonomic Nervous System
- ANS) เม่ือบุคคลอยู่ในภาวะท่ีมีความกดดันทางอารมณ์ มีความโกรธหรือมีความกลัวอย่างรุนแรงน้ัน
ระบบประสาทอตั โนมตั ซิ มิ พาเทตกิ (Sympathetic nervous system) จะทำ� งานดา้ นการกระตนุ้ ใหร้ า่ งกาย
มีความตื่นตัวและมีพลังงานอย่างเพียงพอเพ่ือให้ร่างกายเตรียมความพร้อมส�ำหรับการ “สู้หรือถอยหนี”
ระบบซิมพาเทติกจะกระตุ้นหัวใจให้เต้นเร็วข้ึน หลอดเลือดแดงท่ีหัวใจขยาย ระดับนํ้าตาลในเลือดเพิ่มสูง
ขนึ้ เพอ่ื ใหร้ า่ งกายมพี ลงั งาน มกี ารหายใจแรงและเรว็ ขน้ึ หลอดลมขยายออกเพอ่ื ใหร้ า่ งกายไดร้ บั อากาศให้
มากที่สุด รูม่านตาขยาย ต่อมเหง่ือท�ำงานมากขึ้น กล้ามเน้ือล�ำไส้และกระเพาะปัสสาวะยับย้ังการบีบตัว
เสน้ เลอื ดทผี่ วิ หนงั หดตวั ขนลกุ ชนั ขน้ึ และเมอื่ บคุ คลมอี ารมณล์ ดลง หรอื อยใู่ นภาวะทสี่ งบ ระบบประสาท
พาราซมิ พาเทตกิ (Parasympathetic nervous system) จะเขา้ มาทำ� หนา้ ทเ่ี พอ่ื ใหก้ ารทำ� งานของอวยั วะ
ในรา่ งกายกลบั คนื สภู่ าวะปกติ ดงั นนั้ หากบคุ คลมอี ารมณท์ อ่ี ยใู่ นภาวะตงึ เครยี ดจะสง่ ผลกระทบตอ่ รา่ งกาย
เช่น นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร อาหารไม่ย่อย อ่อนเพลียเรื้อรัง ท�ำให้ร่างกายทรุดโทรมและ
ถ้าตกอยู่ในภาวะท่ีมีความกดดันทางอารมณ์เป็นเวลานานก็จะส่งผลให้บุคคลมีความอ่อนแอทางร่างกาย
และมีโอกาสที่จะเจบ็ ป่วยด้วยโรคทางกาย ได้แก่ โรคหวั ใจและหลอดเลือด โรคความดันโลหติ โรคระบบ
ทางเดนิ อาหาร และโรคผวิ หนัง เปน็ ตน้

2. 	ผลของอารมณ์ต่อความจ�ำและการเรียนรู้	

       ความจ�ำเป็นความสามารถที่ส�ำคัญต่อการด�ำเนินชีวิตของมนุษย์และเป็นองค์ประกอบส�ำคัญของ
การเรียนรู้ ความจ�ำเป็นกระบวนการทางสมองในการเก็บรักษาข้อมูลและประสบการณ์ท่ีสามารถดึงมาใช้
ในภายหลังได้ กระบวนการจ�ำเริ่มข้ึนเม่ือมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น อวัยวะรับสัมผัสจะท�ำการรับรู้ข้อมูลไม่ว่า
จะเปน็ ภาพ เสยี ง กลนิ่ สมั ผสั และรสชาติ จากนนั้ จะเกดิ การเขา้ รหสั เพอ่ื การแปลงขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ บั รเู้ หลา่ นน้ั
ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบทเี่ หมาะสำ� หรบั นำ� ไปเกบ็ รกั ษาไว้ ซงึ่ ขอ้ มลู ทไี่ มไ่ ดอ้ ยใู่ นความสนใจของบคุ คลกอ็ าจจะหาย
ไปในเวลารวดเรว็ แตข่ อ้ มลู บางชนดิ จะเกบ็ รกั ษาในชว่ งระยะเวลาสนั้ และบางชนดิ สามารถเกบ็ รกั ษาไวไ้ ด้
ในระยะยาวนานโดยทไี่ มม่ วี นั ลมื หรอื จางหายไป และเมอื่ ถงึ เวลากส็ ามารถระลกึ ถงึ ความจำ� และขอ้ มลู ทเ่ี กบ็
รักษาไว้น้ันออกมาใช้ประโยชน์ จากการศึกษาท่ีผ่านมาพบว่า อารมณ์มีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อกระบวนการ
เกบ็ รกั ษาและระลกึ ความจำ� เมอื่ บคุ คลพบเจอสถานการณห์ รอื ประสบการณท์ ม่ี อี ารมณผ์ สมผสานอยมู่ กั จะ
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27