Page 48 - ทักษะชีวิต
P. 48

6-38 ทกั ษะชวี ติ

เร่ืองที่ 6.3.1
ความฉลาดทางอารมณ์เพ่ือการด�ำเนินชีวิต

1. 	ความหมายและองค์ประกอบของความฉลาดทางอารมณ์

       อารมณ์เป็นสิ่งท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่ ความคดิ การกระทำ� ความตอ้ งการ ตลอดจนปฏิกิริยาทางร่างกาย
และความสัมพันธ์ที่มีกับบุคคลรอบตัว ความสามารถในการจัดการกับอารมณ์จึงเป็นสิ่งที่ช่วยให้บุคคลมี
สุขภาพจิตที่ดีและสามารถใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างราบร่ืน บุคคลจึงต้องมีทักษะท่ีส�ำคัญ คือความ
ฉลาดทางอารมณ์ (EI หรอื EQ) อนั เปน็ ความสามารถในการรบั รแู้ ละเขา้ ใจอารมณข์ องตนเอง และสามารถ
จดั การกบั อารมณ์ได้อย่างเหมาะสม

       เดิมนั้นนักวิชาการจะให้ความสนใจศึกษาและทดสอบในเร่ืองของสามารถทางปัญญา และสร้าง
แบบวัดทางเชาวน์ปัญญาออกมาเป็นจ�ำนวนมาก อย่างไรก็ตามความสามารถทางเชาวน์ปัญญาที่วัดออก
มาเปน็ การวัดความสามารถในการเรียนรู้ เข้าใจ จดจ�ำ คิดอยา่ งมเี หตผุ ล แกป้ ัญหาและประสบการณจ์ าก
การเรยี นรู้ แตใ่ นการดำ� เนนิ ชวี ติ จรงิ ในสงั คมนน้ั ตอ้ งใชค้ วามสามารถในการอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ นื่ ดว้ ยความเขา้ ใจ
ความสามารถในการติดต่อส่ือสารอย่างมีสัมพันธภาพท่ีดี รวมทั้งความสามารถในการปรับตัวและเผชิญ
หน้ากับสภาพแวดล้อม ด้วยอารมณ์ที่ม่ันคงและแสดงออกอย่างเหมาะสม แนวคิดเรื่องความฉลาดทาง
อารมณจ์ งึ เปน็ แนวคดิ ทไี่ ดร้ บั ความสนใจ ทงั้ นี้ แดเนยี ล โกลแมน (Goleman, 1966 อา้ งใน กรมสขุ ภาพจติ ,
2543) เปน็ ผู้ที่ท�ำใหค้ �ำว่า ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) เป็นท่รี ้จู ัก และตอ่ มาได้มี
นกั จติ วทิ ยาและนกั วชิ าการไดศ้ กึ ษาอยา่ งแพรห่ ลาย โดยมกี ารศกึ ษาโครงสรา้ งและจดั องคป์ ระกอบ รวมทงั้
การสร้างแบบประเมินเพ่อื วัดระดบั ของความฉลาดทางอารมณ์ของบุคคลหรือท่เี รียกว่า EQ (Emotional
Quotient) ดงั นน้ั คำ� ว่า ความฉลาดทางอารมณ์ EI (Emotional Intelligence) และ EQ (Emotional
Quotient) จะมคี วามสมั พนั ธก์ นั และบางครงั้ ใชแ้ ทนกนั โดย EI จะเกย่ี วขอ้ งกบั โครงสรา้ งดา้ นตา่ งๆ ของ
ความฉลาดทางอารมณ์ ส่วน EQ จะมีความหมายเก่ียวข้องกับผลที่ได้จากการวัดหรือประเมิน EI ซ่ึง
จะท�ำใหท้ ราบระดับของความฉลาดทางอารมณ์ (กรมสุขภาพจติ , 2543)

       ความฉลาดทางอารมณจ์ งึ เปน็ ความสามารถในการตระหนกั รู้ เขา้ ใจอารมณแ์ ละความรสู้ กึ ทง้ั ของ
ตนเองและผู้อื่น สามารถควบคุมและจัดการอารมณ์ของตนเองให้มีการแสดงออกอย่างเหมาะสม มีความ
สามารถในการปรบั ตวั ในสถานการณต์ า่ งๆ สามารถสรา้ งสมั พนั ธภาพทดี่ กี บั ผอู้ น่ื โดยโกลแมน (1998) ได้
เสนอวา่ ความฉลาดทางอารมณป์ ระกอบดว้ ยความสามารถ 2 สว่ น คอื ความสามารถสว่ นบคุ คล (Personal
competence) ซึ่งเป็นความสามารถในการจัดการกับตนเอง และความสามารถทางสังคม (Social
competence) เปน็ ความสามารถในการจัดการกบั ความสมั พนั ธ์ โดยมีองคป์ ระกอบย่อยดงั นี้

       1) 	การตระหนักรู้ในตนเอง คอื การรจู้ กั และรเู้ ทา่ ทนั อารมณข์ องตนเอง รถู้ งึ ผลกระทบทเ่ี กดิ จาก
อารมณต์ อ่ สง่ิ ต่างๆ สามารถประเมินตนเองตามความเป็นจริง ร้จู ดุ แขง็ และขอ้ จำ� กัดของตนเอง รวมทง้ั มี
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53