Page 130 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 130

7-20 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา

                 ภาย​หลังก​ าร​ฝึกก​ าร​เกร็งแ​ ละค​ ลายก​ ล้ามเ​นื้อ​ตามท​ ี่ร​ ะบุ​ใน​ข้อ 3.2.1-3.2.9 แล้ว จะต​ ้อง​
ขอใ​ ห้​ผู้รับ​การ​ฝึกไ​ ป​ฝึกเ​พิ่มเ​ติม​ด้วย

       ครั้งท​ ี่ 4	 เรื่อง การฝ​ ึก​ลดค​ วาม​รู้สึก​อ่อน​ไหวอ​ ย่างเ​ป็นร​ ะบบใ​น​การเ​ผชิญ​ความโ​กรธ
            วตั ถปุ ระสงค์
                 เพื่อฝ​ ึกก​ ารล​ ด​ความ​รู้สึกอ​ ่อน​ไหวอ​ ย่าง​เป็น​ระบบ​ในก​ ารเ​ผชิญ​ความโ​กรธ
            วิธ​ีดำเนนิ ก​ าร
                 1. 	ผใู​้ หก้ ารป​ รึกษา (ผูฝ้​ ึก) อธิบายถ​ งึ ว​ ัตถปุ ระสงคข​์ องก​ ารฝ​ กึ ก​ ารล​ ดค​ วามร​ ูส้ กึ อ​ ่อนไ​หว​

อย่างเ​ป็นร​ ะบบ เป็นร​ าย​บุคคล
                2. 	ผใู้​หก้ ารป​ รกึ ษาใ​หผ้​ ู้รับก​ ารฝ​ ึก (วัยร​ ุน่ ) เขียนล​ ำดบั ส​ ถานการณห์​ รอื เ​หตุการณท​์ ที่​ ำให​้

โกรธจ​ ากน​ ้อยท​ ี่สุด​ไป​ถึงโ​กรธม​ ากท​ ี่สุด
                 3. 	ผู้ใ​ห้การ​ปรึกษา อธิบายถ​ ึงว​ ิธี​การ​จินตนาการโ​ดย​ให้​ผู้รับ​การฝ​ ึก​ปฏิบัติ ดังนี้
                     3.1 	ให้​ผู้รับ​การ​ฝึก (วัย​รุ่น) นั่ง​ตาม​สบาย​และ​อยู่​ใน​สภาพ​ผ่อน​คลาย​กล้าม​เนื้อ

และห​ ลับตา
                     3.2 	ให้​ผู้รับ​การ​ฝึก จินตนาการ​ตาม​เรื่อง​ราว​ที่​ผู้ให้การ​ปรึกษา​พูด​โดย​ผู้​ให้การ​

ปรึกษา​เป็นผ​ ู้​กำหนด​เรื่องร​ าวท​ ี่ใ​ห้ผ​ ู้รับก​ าร​ฝึกจ​ ินตนาการต​ าม
                     3.3 	ขณะ​ที่​จินตนาการ ให้​ผู้รับ​การ​ฝึก​ใช้​จิต​สัมผัส​กล้าม​เนื้อ​ของ​ตนเอง​เพื่อ​

ตรวจส​ อบว​ ่า กล้ามเ​นื้อส​ ่วนใ​ดย​ ังค​ งต​ ึงเครียด​หรือเ​กร็งอ​ ยู่ ก็จ​ ะไ​ด้ผ​ ่อนค​ ลายก​ ล้ามเ​นื้อส​ ่วนน​ ั้นๆ แล้วห​ ายใจ​
เข้า-ออก สัก​ประมาณ 2-3 ครั้ง ก่อนจ​ ะ​ค่อยๆ ลืมตา​ขึ้น​ภายห​ ลัง​ที่ห​ ยุด​จินตนาการ

                     3.4 	สอบถามผ​ ู้รับก​ ารฝ​ ึกว​ ่า สามารถจ​ ินตนาการไ​ดช้​ ัดเจนต​ ามเ​รื่องร​ าวท​ ีผ่​ ูใ้​ห้การ​
ปรึกษา​กำหนดไ​ด้ม​ าก​น้อย​เพียงใ​ด

                     3.5 	ให้​ผู้รับ​การ​ฝึก ฝึก​จินตนาการ​ซ้ำ​อีก​ครั้ง​หนึ่ง เพื่อ​จะ​ได้​ตรวจ​สอบ​ว่า ผู้รับ​
การ​ฝึก​สามารถ​จินตนาการ​ได้

                     3.6 	ให้​ผู้รับ​การ​ฝึก​จินตนาการ​เกี่ยว​กับ​เหตุการณ์​ที่​ทำให้​ผู้รับ​การ​ฝึก​โกรธ​น้อย​
ที่สุด และ​ใน​จินตนาก​ า​รนั้นๆ ผู้รับก​ ารฝ​ ึก​มีพ​ ฤติกรรมก​ ารแ​ สดง​ต่อ​เหตุการณ์​ที่ท​ ำให้​โกรธน​ ั้นอย่างไร

                     3.7 	เมื่อส​ ิ้นส​ ุดก​ าร​จินตนาการ​ในข​ ้อ 3.6 ให้​ผู้รับ​บริการ​เล่า​ให้ผ​ ู้​ให้การ​ปรึกษา​ฟัง​
เกี่ยวก​ ับพ​ ฤติกรรมแ​ ละ​ความ​รู้สึก​ในก​ าร​เผชิญค​ วามโ​กรธน​ ั้นๆ

       ครั้งท​ ี่ 5-7 เรื่อง การฝ​ ึกล​ ด​ความ​รู้สึกอ​ ่อนไ​หวอ​ ย่าง​เป็นร​ ะบบ​ในก​ าร​เผชิญ​ความ​โกรธ
            วตั ถุประสงค์
                 1. 	เพื่อฝ​ ึกก​ ารล​ ด​ความร​ ู้สึกอ​ ่อน​ไหวอ​ ย่างเ​ป็น​ระบบใ​น​การ​เผชิญ​ความ​โกรธ
                 2. 	เพื่อ​ให้​ผู้รับ​การ​ฝึก​สามารถ​แสดง​พฤติกรรม​การ​แสดงออก​ใน​การ​เผชิญ​ความ​โกรธ​

ได้โ​ดยไ​ม่เ​กิดค​ วามร​ ู้สึกอ​ ่อนไ​หว
       			

                           ลิขสทิ ธิข์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135