Page 131 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 131

การพัฒนาโปรแกรมการปรกึ ษา 7-21

            วิธดี​ ำเนินก​ าร
                 1. 	ผู้​ให้การ​ปรึกษา​ซัก​ถาม​ถึง​การ​ฝึก​ผ่อน​คลาย​กล้าม​เนื้อ การ​ฝึก​จินตนาการ​ตาม​ที่​ได้​

ฝึกไ​ปแ​ ล้ว
                 2. 	ผู้​ให้การ​ปรึกษา​ให้​ผู้รับ​การ​ฝึก​นั่ง​ตาม​สบาย อยู่​ใน​สภาพ​ผ่อน​คลาย หลับตา

และจ​ นิ ตนาการห​ รอื น​ กึ ถึงส​ ถานการณห​์ รอื เ​หตกุ ารณท​์ ที​่ ำใหผ้​ ูร้ บั ก​ ารฝ​ กึ โ​กรธท​ ล​ี ะส​ ถานการณ์ โดย​ใหส​้ ามารถ​
เห็นภ​ าพ​เหตุก​ าร​ ณ์น​ ั้นๆ ใน​มโนภาพช​ ัดท​ ี่สุด​จนเ​กิด​อารมณ์ร​ ่วมก​ ับ​ภา​พนั้นๆ ถ้าผ​ ู้รับ​การฝ​ ึก​แสดงออกว​ ่าไ​ม่​
พอใจ​หรือ​โกรธ​ใน​ครั้ง​ใด ผู้​ให้การ​ปรึกษา​จะ​ขอ​ให้​ผู้รับ​การ​ฝึก​หยุด​อยู่​ที่​ตรง​นั้น แล้ว​รายงาน​ว่า​มี​เหตุการณ์​
อะไรเ​กิด​ขึ้น และ​รู้สึก​อย่างไร ต่อจ​ าก​นั้นผ​ ู้​ให้การ​ปรึกษาจ​ ะ​บอกใ​ห้ผ​ ู้รับ​การฝ​ ึก​ค่อยๆ ผ่อนค​ ลาย​กล้าม​เนื้อ​
และค​ ่อยๆ คลายค​ วามว​ ิตกก​ ังวลจ​ ากก​ ารผ​ ่อนค​ ลาย ซึ่งจ​ ะช​ ่วยใ​ห้ผ​ ู้รับก​ ารฝ​ ึกค​ ่อยๆ ขจัดค​ วามร​ ู้สึกอ​ ่อนไ​หว​
อันเ​นื่องม​ า​จากค​ วามโ​กรธแ​ ละ​เรียน​รู้ด​ ้วยว​ ่า จะแ​ สดง​พฤติกรรม​ที่เ​หมาะส​ มใน​การเ​ผชิญ​ความโ​กรธ​อย่างไร

                 3. 	ผใู​้ หก้ ารป​ รกึ ษาใ​หผ​้ ูร้ บั ก​ ารฝ​ กึ จ​ นิ ตนาการเ​กีย่ วก​ บั เ​หตกุ ารณท​์ ที​่ ำใหผ​้ ูร้ บั ก​ ารฝ​ กึ โ​กรธ
โดยค​ ่อยๆ เพิ่มร​ ะดบั ค​ วามร​ ุนแรงข​ องเ​หตกุ ารณ์ และด​ ำเนินก​ ารฝ​ ึกต​ ามล​ ำดับข​ ั้นต​ อนใ​นข​ ้อ 2 โดยด​ ำเนนิ ก​ าร​
ฝึกเ​ป็น​ครั้ง​ที่ 6 และ 7 ต่อไ​ป

                 4. 	ผูใ้​ห้การป​ รึกษาต​ ิดตามผ​ ลก​ ารฝ​ ึกใ​นแ​ ต่ละค​ รั้งแ​ ละใ​หผ้​ ู้รับก​ ารฝ​ ึกร​ ายงานผ​ ลก​ ารฝ​ ึก​
รวม​ทั้ง​พฤติกรรม​การ​แสดงออก​ในก​ ารเ​ผชิญค​ วามโ​กรธ

       ครั้งท​ ี่ 8	 เรื่อง ปัจฉิม​นิเทศ
            วัตถุประสงค์
                 เพื่อใ​ห้​ผู้รับก​ ารฝ​ ึกไ​ด้​ทราบ​ถึงผ​ ล​ของ​การฝ​ ึกก​ าร​ลดค​ วาม​รู้สึก​อ่อน​ไหวอ​ ย่าง​เป็น​ระบบ​

ใน​การ​เผชิญ​ความโ​กรธ และ​ประโยชน์​ที่ไ​ด้​รับ
            วธิ ีด​ ำเนิน​การ
                 1. 	ผู้ใ​ห้การป​ รึกษาต​ ิดตามผ​ ลก​ ารฝ​ ึกก​ ารล​ ดค​ วามร​ ู้สึกอ​ ่อนไ​หวอ​ ย่างเ​ป็นร​ ะบบ และใ​ห้​

ผู้รับก​ าร​ฝึก​รายงาน​เกี่ยวก​ ับผ​ ล​การ​ฝึกใ​น​การ​เผชิญค​ วาม​โกรธ
                2. 	ผูใ้​ห้การป​ รึกษาใ​หก้​ ำลังใ​จเ​กี่ยวก​ ับผ​ ลก​ ารฝ​ ึก และใ​หผ้​ ู้รับก​ ารฝ​ ึกร​ ายงานด​ ้วยต​ นเอง

(Self-report) ทั้ง​ระยะ​สั้น เช่น 1 เดือน หรือ 3 เดือน หรือ​ระยะย​ าว เช่น 1 ปี หรือ 2 ปี เพื่อ​ตรวจ​สอบว​ ่า​
ผู้รับ​การ​ฝึก​สามารถน​ ำ​วิธีการล​ ด​ความ​รู้สึกอ​ ย่างเ​ป็น​ระบบม​ า​ใช้​ในก​ าร​เผชิญ​ความ​โกรธไ​ด้​มาก​น้อย​เพียงใ​ด

            1.3.8 	กำหนด​ระยะ​เวลา​ใน​การ​ฝึก​ตาม​ที่​ระบุ​ใน​ข้อ 1.3.7 โดย​จะ​ฝึก​ติดต่อ​กัน 6-8 สัปดาห์
สัปดาห์​ละ 1 ครั้ง ครั้งล​ ะ 50 นาที

            1.3.9 	นำ​โปรแกรม​การ​ปรึกษา​เป็น​ราย​บุคคล​แบบ​พฤติกรรม​นิยม​ที่​พัฒนา​ขึ้น ไป​ให้​ผู้ทรง​
คุณวุฒิ​ตรวจ​สอบ​ความ​ตรง​เชิง​เนื้อหา แล้ว​จึง​นำ​ไป​ปรับปรุง​แก้ไข​ตาม​ข้อ​เสนอ​แนะ​ของ​ผู้ทรง​คุณวุฒิ
ก่อนน​ ำไ​ปท​ ดลองใ​ช้แ​ ละ​ก่อนน​ ำ​ไป​ใช้​จริง

            1.3.10 ควรป​ ระเมินโ​ปรแกรมก​ ารป​ รึกษาฯ ทั้งร​ ะหว่างแ​ ละห​ ลังก​ ารใ​ช้โ​ปรแกรมด​ ังก​ ล่าว ทั้งนี​้
เพราะว​ า่ ในร​ ะหวา่ งก​ ารใ​ชโ​้ ปรแกรมก​ ารป​ รกึ ษาน​ ัน้ อาจจ​ ะม​ ป​ี ญั หา อปุ สรรคบ​ างป​ ระการเ​กดิ ข​ ึน้ ซึง่ อ​ าจจ​ ะต​ อ้ ง​
ปรับ​เปลี่ยน​เทคนิค​วิธี​ให้​เหมาะ​สม​กับ​บริบท​บาง​ประการ​ที่​เกิด​ขึ้น​โดย​ไม่​คาด​คิด ซึ่ง​ผู้​ใช้​โปรแกรม​จะ​ละเลย

                           ลขิ สทิ ธขิ์ องมหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136