Page 132 - การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
P. 132
7-22 การพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
ไมไ่ด้ ทั้งนี้ เพื่อใหโ้ปรแกรมก ารป รึกษาท ีพ่ ัฒนาข ึ้นน ั้นส ามารถน ำไปใชอ้ ย่างม ปี ระสิทธิภาพแ ละม ปี ระสิทธิผล
ต่อสิ่งที่ต้องการสร้างเสริมห รือพ ัฒนา
1.3.11 ประเมนิ พ ฤตกิ รรมก ารแ สดงออกในก ารเผชญิ ค วามโกรธขอ งว ัยร ุ่นก อ่ น และห ลงั ก าร
ใชโ้ ปรแกรมก ารป รกึ ษาเปน็ ร ายบ คุ คลแ บบพ ฤตกิ รรมน ยิ มเพือ่ ต รวจส อบ ประสทิ ธผิ ลข องก ารใชโ้ ปรแกรมก าร
ปรึกษาด ังก ล่าวว ่า ทำให้พ ฤติกรรมก ารแ สดงออกในก ารเผชิญป ัญหาข องว ัยร ุ่นเปลี่ยนแปลงไปในท ิศทางใด
1.3.12 นำเสนอผลก ารใช้โปรแกรมการป รึกษาเป็นรายบ ุคคลแบบพ ฤติกรรมนิยม เพื่อสร้าง
เสริมพ ฤติกรรมการแ สดงออกในการเผชิญค วามโกรธขอ งวัยรุ่น ในรูปตาราง และกราฟ หรือเส้นภาพ
1.3.13 สรุปผลและนำเสนอผลการสร้างเสริมพฤติกรรมการแสดงออกในการเผชิญ
ค วามโกรธ โดยใช้โปรแกรมการป รึกษาเป็นร ายบุคคลแ บบพ ฤติกรรมนิยม
2. การประยกุ ตใ์ ชโ้ ปรแกรมก ารป รกึ ษาเปน็ กล่มุ
2.1 โปรแกรมการปรึกษาเป็นกลุ่ม เป็นเครื่องมือที่จะให้ความช่วยเหลือผู้รับการปรึกษาเป็นกลุ่ม
โดยกลุ่มผ ู้รับการป รึกษาจะมีป ัญหาหรือค วามต้องการค ล้ายๆ กัน ที่ต้องการแ ก้ปัญหา หรือปรับปรุงต นเอง
หรือพัฒนาตนเอง มาปรึกษาหารือร่วมกัน โดยม ีการแ ลกเปลี่ยนความค ิดเห็น หาท างที่จะแ ก้ป ัญหาร ่วมกัน
ภายใต้บ รรยากาศข องก ารยอมรับซ ึ่งก ันและกัน เห็นอกเห็นใจกัน ให้ก ำลังใจแ ละไว้ว างใจซึ่งกันและก ัน โดย
มีผู้ให้การปรึกษาซึ่งเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะและประสบการณ์ในการให้การปรึกษาเป็น
ผู้เอื้ออำนวยความสะดวก (Facilitator) ในก ารประสานค วามคิด ให้ค วามช่วยเหลือแ ละป รึกษาหรือร ่วมกัน
เพือ่ ใหผ้ ูร้ บั ก ารป รกึ ษาในฐ านะส มาชกิ ก ลุม่ สามารถแ กป้ ญั หาแ ละม คี วามเจรญิ ง อกงามในช วี ติ (Corey, 1995)
2.2 การประยุกต์ใช้โปรแกรมการปรึกษาเป็นกลุ่ม เนื่องด้วยโปรแกรมการปรึกษาเป็นกลุ่ม
เปรียบเสมือนเครื่องมือที่จะให้ความช่วยเหลือสมาชิกทุกคนในกลุ่ม ได้ปรับเปลี่ยน ความคิด ความรู้สึก
ความเชื่อหรือเจตคติที่มีต่อตนเองและผู้อื่น ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือการแสดงออกของตนเองในทาง
สร้างสรรค์ขึ้น และได้เรียนรู้ที่จะสร้างสัมพันธไมตรีกับเพื่อนสมาชิก ได้เรียนรู้ปัญหาของเพื่อนสมาชิก ได้
แลกเปลี่ยนความคิด ความร ู้สึก ได้ช่วยเหลือก ันแ ละก ัน และผลจากก ารมีป ฏิสัมพันธ์ทางสังคมภ ายในกลุ่ม
จะช่วยให้สมาชิกแต่ละคนได้รู้จักและเข้าใจตนเองมากขึ้น ยอมรับตนเองมากขึ้น ยอมรับความเป็นเพื่อน
ความเป็นมนุษย์ของบุคคลอื่นมากขึ้น กล้าแสดงความคิดเห็นโดยให้ความเคารพในสิทธิและศักดิ์ศรีของ
สมาชิกแต่ละคน สามารถโอนอ่อนผ่อนตามเพื่อนสมาชิกอย่างมีเหตุผลที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบต่อ
ตนเองแ ละกลุ่มม ากขึ้น ส่งผ ลให้สมาชิกก ลุ่มได้เรียนรู้ที่จะมีปฏิสัมพันธ์ มีน ้ำใจต ่อส มาชิกก ลุ่ม และบุคคล
อื่นน อกก ลุ่มได้เหมาะส มยิ่งข ึ้น
ดังน ั้น การป ระยุกตใ์ชโ้ปรแกรมก ารป รึกษาเป็นกล ุ่ม จึงส ามารถน ำไปป ระยุกตใ์ชใ้นก ารแ ก้ไขป ัญหา
และพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์โดยใช้ทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยาที่ให้ความสำคัญกับเรื่องกลุ่มเป็น
พื้นฐาน เช่น
1) การส ร้างเสริมค ุณธรรมจ ริยธรรมให้แก่เด็กแ ละเยาวชน โดยใช้โปรแกรมก ารปรึกษาเป็น
กล ุ่มแบบภวนิย ม
ลิขสิทธ์ิของมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช