Page 169 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 169
การจัดองค์การ 4-41
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างที่เห็นได้อย่างชัดเจนในกรณีนี้ก็ ธุรกิจโรงแรม ห้างสรรพสินค้า ธุรกิจเฟรนไชส์
(franchise) การบริการท่องเที่ยว และการขนส่ง ซึ่งธุรกิจต่างๆ เหล่านี้จะมีองค์การหรือบริษัทในเครือข่ายจำนวน
มาก
นอกจากนี้แล้วองค์การแบบเครือข่ายอาจปรากฏออกมาในลักษณะองค์การเครือข่ายพันธมิตร (Alliance
Network Organization) ที่จะประกอบด้วยองค์การหรือหน่วยงานหลายๆ แห่งที่มีภารกิจเดียวกัน ใกล้เคียงกัน
หรือเกี่ยวเนื่องส ัมพันธ์กัน โดยอ งค์การเหล่านั้นจ ะม ีการบริหาร ดำเนินงาน การป ฏิบัติตามก ลยุทธ์ และใช้ทรัพยากร
ต่างๆ ร่วมกันผ ่านเครือข ่ายอ ิเล็กทรอนิกส์ โดยมีจ ุดม ุ่งห มายห ลักคือเพื่อตอบส นองค วามต้องการข องลูกค้าหรือผ ู้รับ
บริการให้ได้ร ับค วามพ ึงพ อใจส ูงสุด ตัวอย่างเช่น ธุรกิจส ายก ารบ ินท ี่ร วมก ลุ่มก ันเป็นเครือข ่าย ไม่ว ่าจ ะเป็นกล ุ่ม Star
Alliance, One World, Skyteam เป็นต้น
องค์การแบบเครือข่ายมีข ้อดีที่สำคัญ คือ สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าหรือผู้รับบริการได้
อย่างรวดเร็ว สายการบังคับบัญชาลดหรือสั้นลง เพราะมีการเหมาช่วงงานบางอย่างไปให้องค์การอื่นทำแทน ส่วน
ขอ้ เสียท ี่ส ำคัญ คือ การควบคุมท ำได้ย าก เพราะไม่ได้ด ำเนินงานอ ยู่ภ ายใต้ส ถานที่เดียวกัน เสียค ่าใช้จ่ายในช่วงแ รก
มาก เพราะต อ้ งล งทนุ ในเทคโนโลยสี ารสนเทศส งู และก ารเหมาช ว่ งง านอ าจก อ่ ใหเ้ กดิ ป ญั หา หากอ งคก์ ารน ัน้ ไมส่ ามารถ
รักษาคุณภาพหรือมาตรฐานได้ และอาจมีความเสี่ยงสูงที่ข้อมูลข่าวสารขององค์การจะไปตกอยู่ในมือขององค์การ
ค ู่แ ข่ง หากองค์การต ่างๆ ที่รับเหมาช่วงง านไม่มีค วามจ ริงใจต ่อกัน
2. การจ ัดองคก์ ารแบบเสมอื นจรงิ
องค์การแ บบเสมือนจ ริง (Virtual Organization) จะให้ค วามส ำคัญก ับก ารท ำข ้อต กลงก ับอ งค์การภ ายนอก
ในรูปของสัญญาเหมางาน (contract-out) โดยเฉพาะงานที่องค์การขาดทรัพยากรหรือขาดทักษะความเชี่ยวชาญใน
การดำเนินก ารด้วยต นเอง องค์การแ บบนี้จ ึงค ล้ายกับอ งค์การแบบเครือข ่าย แต่จะมีค วามค ล่องต ัวในการด ำเนินการ
ที่สูงกว่า โดยอาจไม่จำเป็นต้องมีหน่วยงานหรือส่วนงานย่อยในองค์การเลย เพราะงานต่างๆ ได้ใช้องค์การอื่นๆ
ดำเนินการแทนทั้งหมด แต่จะยังอยู่ภายใต้การกำกับดูแลด้านคุณภาพหรือมาตรฐานของงาน ส่วนกลางหรือศูนย์
ภารกิจหลักขององค์การแบบนี้จึงทำหน้าที่ประสานความสัมพันธ์ที่ดีกับองค์การอื่นๆ ที่ปฏิบัติงานแทน โดยสินค้า
หรือบ ริการท ีอ่ งค์การอื่นๆ แยกก ันผ ลิตแ ทนน ั้นในท ี่สุดจ ะถ ูกร วมม าเป็นส ินค้าห รือบ ริการข องอ งค์การท ีม่ เีครื่องหมาย
การค้าเดียวกัน ตลอดจนมีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกัน ประชาชนหรือผู้บริโภคจึงไม่อาจทราบได้ว่าสินค้าหรือ
บริการที่ตนใช้อ ยู่น ั้นแท้จริงแ ล้วไม่ใช่อ งค์การเจ้าของเครื่องหมายการค้าน ั้นๆ เป็นผู้ผ ลิตเอง
ดังน ั้นอ งค์การเสมือนจ ริงจ ึงเป็นอ งค์การท ีเ่สมือนบ ริหารแ ละด ำเนินง านเพื่อผ ลิตส ินค้าแ ละบ ริการต ่างๆ ด้วย
ตนเอง แตใ่นข อ้ เท็จจ ริงก ลบั ใหอ้ งคก์ าร อื่นๆ ดำเนนิ ก ารผ ลิตส นิ คา้ แ ละบ รกิ ารต า่ งๆ แทน โดยอ งค์การจ ะม กี ารค วบคมุ
คุณภาพเพื่อให้เกิดมาตรฐานภ ายใต้เครื่องหมายการค้าเดียวกัน สำหรับตัวอย่างของการจัดองค์การแ บบเสมือนจริง
แสดงได้ดังภาพที่ 4.15
ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช