Page 173 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 173
การจัดองค์การ 4-45
ช่วยตอบสนองความต้องการของลูกค้าหรือผู้รับบริการได้ดีและรวดเร็ว ส่วนข้อเสียขององค์การแบบที่สำคัญก็คือ
เอกภาพในการบังคับบัญชาลดลง และหากผู้ปฏิบัติงานขาดทักษะ ขาดความรับผิดชอบและการควบคุมตนเองแล้ว
ย่อมส่งผลเสียกับองค์การ องค์การแบบนี้จึงจำเป็นต้องลงทุนในการฝึกอบรมเพื่อให้บุคลากรมีทักษะที่หลากหลาย
มีจิตใจบ ริการ และมีค วามพ ร้อมส ำหรับการควบคุมตนเองในการป ฏิบัติงาน
4. การจัดอ งค์การแบบสหพันธ์
องคก์ ารแ บบส หพนั ธ์ (Federal Organization) เปน็ อ งคก์ ารต ามพ ืน้ ทรี่ ปู แ บบใหมท่ มี่ ุง่ ต อบส นองส ภาวการณ์
ที่เปลี่ยนแปลงอ ย่างรวดเร็ว องค์การแ บบนี้ค ล้ายกับองค์การแบบเครือข่ายที่จะอาศัยก ารเชื่อมโยงค วามต้องการแ ละ
การติดต่อสื่อสารผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่ก้าวหน้าและทันสมัย แต่อย่างไรก็ตามองค์การแบบสหพันธ์จะ
แตกต ่างก ับแ บบเครือข ่ายท ี่ส ่วนก ลางห รือศ ูนยภ์ ารกิจห ลักจ ะต ้องม ีข นาดเล็ก ทีไ่ม่ใชศ่ ูนยข์ องผ ูบ้ ริหารห รือศ ูนย์กลาง
ของข ้อมูลท ั้งหมด ผู้บ ริหารต ัวจ ริงข องอ งค์การแ บบส หพันธ์จ ะก ระจายอ ยู่ต ามศ ูนย์ห รือส าขาท ี่ถ ูกก ระจายไปอ ยู่ต าม
พื้นที่ต ่างๆ
องค์การแ บบส หพันธ์ม ลี ักษณะค ล้ายก ับป ระเทศท ีม่ รี ูปแ ห่งร ัฐแ บบส หพันธรัฐ ทีป่ ระกอบด ้วยร ัฐต ่างๆ หลาย
รัฐที่ยอมสละอำนาจอธิปไตยส่วนหนึ่งมาให้ส่วนกลาง เพื่อให้ส่วนกลางดำเนินกิจกรรมบางอย่างในนามสหพันธรัฐ
เช่น การป้องกันป ระเทศ การต่างประเทศ การเศรษฐกิจม หภาค เป็นต้น ดังนั้นอ ำนาจต ่างๆ จึงไม่ได้เกิดข ึ้นในส่วน
กลางแ ล้วให้ส่วนก ลางนำไปบ ังคับใช้ก ับร ัฐห รือส่วนอื่นได้ อำนาจในก ารบริหารและก ารตัดสินใจท ี่แท้จริงในเรื่อง อื่นๆ
ทั้งหมดจ ึงจ ะข ึ้นอ ยู่ก ับร ัฐแ ต่ละร ัฐเป็นส ำคัญ ในท ำนองเดียวกันอ งค์การแ บบส หพันธ์ก ็จ ะป ระกอบด ้วยศ ูนย์ห รือส ่วน
กลางท ีส่ าขาห รือห น่วยต ่างๆ มอบอ ำนาจส ่วนห นึ่งม าใหก้ ับส ่วนก ลางด ำเนินก ารในบ างเรื่อง เช่น การก ำหนดก ลยุทธใ์น
ภาพร วม การส ่งเสริมก ารข าย การโฆษณาป ระชาสัมพันธเ์พื่อส ร้างภ าพล ักษณท์ ีด่ ใีหก้ ับส ินค้าห รือบ ริการ หรือท ำห น้าที่
วิจัยตลาดเพื่อวิเคราะห์ส่วนแบ่งก ารตลาดและวิเคราะห์ค วามต ้องการและความพ ึงพอใจของลูกค้า เป็นต้น
การจัดองค์การแบบสหพันธ์จะทำให้เกิดองค์การสองขนาดในเวลาเดียวกัน คือ องค์การขนาดเล็กซึ่งได้แก่
หนว่ ยธ ุรกจิ ห รือส าขาต า่ งๆ ทกี่ ระจายอ ยูท่ ั่วท กุ พ ื้นที ่ ในข ณะท ีเ่มื่อท กุ ส าขาร วมก ันจ ะเป็นอ งค์การข นาดใหญท่ ีส่ ามารถ
ขยายตัวได้ตามจำนวนสาขาที่เพิ่มขึ้น องค์การแบบสหพันธ์จึงได้ใช้ข้อได้เปรียบขององค์การทั้งสองขนาดนี้พร้อมๆ
โดยองค์การขนาดเล็กจะมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงหรือเรียกได้ว่ามีความยืดหยุ่นสูง สามารถใกล้ชิดและ
ตอบส นองค วามต ้องการข องล กู ค้าไดด้ ี ในข ณะท อี่ งค์การข นาดใหญจ่ ะไดเ้ปรียบในเรื่องข องค วามม ั่นคง ความส ามารถ
ในก ารล งทุนในด้านต่างๆ ทั้งด้านการผ ลิตและก ารพัฒนาได้สูงก ว่าองค์การข นาดเล็ก ดังนั้นองค์การแบบสหพันธ์จ ึง
สามารถใช้ข ้อได้เปรียบขององค์การท ั้งส องขนาดนี้ไปควบคู่กัน
การบริหารและการดำเนินงานในองค์การแบบสหพันธ์จะเน้นการทำงานเป็นทีมแบบผู้ประกอบการ
(entrepreneur team) ที่จะร ับผ ิดช อบต่อค วามส ำเร็จในงานเสมือนเป็นเจ้าของกิจการ ผู้ป ฏิบัติง านทุกค นจ ึงมีค วาม
ตระหนักแ ละเอาใจใส่ในก ารป ฏิบัติง านร ่วมก ัน และน อกจากท ีมง านด ังก ล่าวจ ะส ามารถป ฏิบัติง านข ้ามส ายง านได้แ ล้ว
ยังส ามารถป ฏิบัติงานในร ูปข องท ีมง านข ้ามส าขาได้อีกด ้วย การบ ริหารแ ละก ารด ำเนินงานจ ะม ีบ รรยากาศก ารท ำงานท ี่
สง่ เสรมิ ใหท้ มี ง านแ ละผ ปู้ ฏบิ ตั งิ านค ดิ ว ธิ กี ารท ำงานเพือ่ บ รรลผุ ลส ำเรจ็ ไดด้ ว้ ยต นเอง ความค ดิ ส รา้ งสรรคแ์ ละน วตั กรรม
จึงเป็นส ิ่งที่อ งค์การแบบสหพันธ์ให้ความส ำคัญ สำหรับต ัวอย่างก ารจัดอ งค์การแบบส หพันธ์ แสดงได้ดังภาพท ี่ 4.18
ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช