Page 170 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 170

4-42 องค์การและการจัดการ และการจัดการทรัพยากรมนุษย์

	 บริษัท​ที่ผ​ ลิตส​ ินค้า	        	                 บริษัทท​ ี่​จัดส​ ่งว​ ัตถุดิบ
                               ศูนย์กลาง             บริษัทท​ ี่ป​ ระชาสัมพันธ์
		
	                                  	
	บริษัท​ที่​วิจัยแ​ ละ​พัฒนา	

                               ภาพ​ท่ี 4.15 ตัวอยา่ งอ​ งค์การแ​ บบเ​สมอื น​จริง

       จาก​ภาพ​ที่ 4.15 จะ​เห็น​ว่า​องค์การ​แบบ​เสมือน​จริง​จะ​ใช้​องค์การ​ภายนอก​เป็น​กลไก​หลัก​ใน​การ​ขับ​เคลื่อน​
องค์การ โดย​ผู้​บริหาร​ที่​อยู่​ประจำ​ศูนย์​หรือ​ส่วน​กลาง​จะ​ทำ​หน้าที่​เพียง​ควบคุม หรือ​กำกับ​ดูแล​ด้าน​คุณภาพ​และ​
มาตรฐานข​ องส​ ินค้าห​ รือบ​ ริการ ตลอดจ​ นป​ ระสานค​ วามส​ ัมพันธอ์​ ันด​ กี​ ับอ​ งค์การผ​ ูด้​ ำเนินก​ ารใ​นด​ ้านต​ ่างๆ แทนเ​ท่านั้น
ความส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่างส​ ่วนก​ ลางก​ ับอ​ งค์การต​ ่างๆ จะ​ผูกพันภ​ ายใ​ต้ส​ ัญญาท​ ี่ม​ ีค​ วามจ​ ริงใจแ​ ละไ​ว้ว​ างใจต​ ่อก​ ัน ผู้บ​ ริหาร​
ในอ​ งค์การแ​ บบเ​สมือนจ​ ริงจ​ ึงจ​ ำเป็นต​ ้องใ​ช้เ​วลาส​ ่วนใ​หญ่ใ​นก​ ารป​ ระสานง​ านแ​ ละก​ ารด​ ูแลค​ วามส​ ัมพันธ์ภ​ ายนอกผ​ ่าน​
ทาง​เครือ​ข่าย​อิเล็กทรอนิกส์ โดย​องค์การ​หรือ​บริษัท​ผู้​ดำเนิน​การ​แทน​เหล่า​นั้น​อาจ​ตั้ง​อยู่​ใน​พื้นที่​เดียวกัน​กับ​องค์การ​
เสมือนจริง​หรือ​อยู่​คนละ​พื้นที่​ก็ได้ นอกจาก​นี้​แล้ว​หัวใจ​ที่​สำคัญ​อีก​ประการ​หนึ่ง​ของ​องค์การ​แบบ​เสมือน​จริง​ก็​คือ​
ความเ​ชื่อท​ ี่ว​ ่าจ​ ะบ​ ริหาร ดำเนินก​ าร ลงทุน และเ​ป็นเ​จ้าของเ​องไ​ปท​ ำไม ในเ​มื่อส​ ามารถเ​ช่าห​ รือจ​ ้างเ​หมาใ​นร​ ะบบส​ ัญญา​
ให้​องค์การ​อื่น​ดำเนิน​การ​แทน​ได้ จาก​แนวคิด​ดัง​กล่าว​ส่ง​ผล​ให้​องค์การ​เสมือน​จริง​ไม่​ต้อง​สิ้น​เปลือง​ทรัพยากร​ใน​การ​
ลงทนุ ด​ ำเนินก​ ารด​ า้ นต​ ่างๆ เอง หน้าทีข่​ องอ​ งคก์ ารเ​สมอื นจ​ รงิ ก​ ค็​ ือก​ าร​ บร​ู ณาก​ ารส​ นิ ค้าห​ รอื บ​ ริการท​ ีอ​่ งคก์ ารต​ ่างๆ ผลิต​
ให้​เป็น​สินค้าห​ รือ​บริการ​ชนิด​เดียวกันภ​ าย​ใต้เ​ครื่องหมายการค้าแ​ ละม​ าตรฐานเ​ดียวกัน

       สำหรับข​ ้อดี​ที่​สำคัญ​ของ​องค์การ​แบบ​เสมือน​จริง​ก็​คือ ช่วย​ให้​ประหยัด​ทรัพยากร​ต่างๆ ใน​การ​ลงทุน​ได้​มาก
และอ​ าจ​ไม่​จำเป็น​ต้องม​ ี​การ​จัดแ​ บ่งแ​ ผนก​งาน​ใน​องค์การ​เลย เพราะ​องค์ก​ าร​ อื่นๆ ได้​ทำ​หน้าที่​แทน​เรียบร้อย​แล้ว ส่วน​
ข้อเ​สยี ท​ ี่​สำคัญ ได้แก่ องค์การแ​ บบ​นี้จ​ ะ​ส่งผ​ ล​ต่อ​การล​ ดก​ าร​ควบคุม​ของ​ผู้​บริหาร​ต่อส​ ่วนท​ ี่​สำคัญ​ของธ​ ุรกิจ และ​หาก​
ควบคุมค​ ุณภาพห​ รือ​มาตรฐาน​ของ​สินค้า​หรือ​บริการ​ไม่ไ​ด้​ย่อม​ส่ง​กระทบโ​ดยตรง​ต่อ​องค์การ​เอง

       นอกจาก​นี้​แล้ว​องค์การ​เสมือน​จริง​ยัง​อาจ​เป็น​ไป​ใน​ลักษณะ​ที่​องค์การ​หรือ​บริษัท​ที่​จัด​ตั้ง​ขึ้น​เป็น​เพียง​บริษัท​
นาย​หน้าห​ รือ​ตัวแทน โดยที่​ไม่มี​การล​ งทุน​ในส​ ินทรัพย์ใ​นง​ านห​ รือธ​ ุรกิจ​นั้นๆ โดยตรง แต่จ​ ะ​ทำห​ น้าที่​เป็นต​ ัวแทนใ​น​
การ​ติดต่อ​ประสาน​งาน​ระหว่าง​ลูกค้า​กับ​องค์การ​ผู้​ขาย​สินค้า​หรือ​บริการ การ​ดำเนิน​งาน​จึง​อาศัย​สินทรัพย์​ที่​ผู้​อื่น​ได้​
ลงทุนไ​ว้ใ​นล​ ักษณะข​ องก​ ารจ​ ับเ​อาค​ วามต​ ้องการ (demand) ของล​ ูกค้าม​ าช​ นก​ ับก​ ารต​ อบส​ นอง (supply) ของอ​ งค์การ​
อื่น​ที่​ขาย​สินค้าห​ รือ​บริการ สำหรับ​ตัวอย่าง​ของ​องค์การด​ ัง​กล่าว​แสดงด​ ัง​ภาพท​ ี่ 4.16

ลิขสทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175