Page 97 - องค์การและการจัดการและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
P. 97
การวางแผน 3-33
กลยุทธ์ในระดับสังคม (Social Strategy) เป็นกลยุทธ์ที่เน้นการสร้างภาพลักษณ์ขององค์การให้เป็น
ที่ยอมรับข องส ังคม องค์การขนาดใหญ่ทั้งท ี่ม ีล ักษณะเป็น Conglomerate หรือ Corporate จะมีจำนวนธ ุรกิจหรือ
มีผลิตภัณฑ์ หน่วยงานหลายหน่วยในหลายพื้นที่กระจายอยู่ทั่วโลก ปัญหาของภาพลักษณ์เป็นปัญหาที่จะต้องดูแล
อย่างดี เพราะหากเกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนที่ส่งผลเสียต่อองค์การที่จะส่งผลกระทบต่อยอดขายและส่วนครอง
ตลาดข องอ งค์การท ั่วโลกได้ ทั้งอ าจส่งผ ลกร ะทบต่อมูลค่าหุ้นของอ งค์การในต ลาดซื้อขายห ลักทรัพย์ได้อีกด้วย
กลยุทธ์ในระดับทั้งองค์การ (Corporate-level Strategy) เป็นกลยุทธ์ที่มีทิศทางกว้างๆ ที่องค์การจะ
ดำเนินก าร เป็นก ลยุทธข์ องอ งค์กรท ีม่ ลี ักษณะป ระกอบด ้วยห ลายห น่วยง าน (division) หรือห ลายห น่วยธ รุ กจิ ก ลยุทธ์
(SBU) กระจายอ ยใู่ นต ลาดห ลายส ่วนต ลาดแ ละในห ลายพ ื้นทแี่ ตกต า่ งก นั องค์การล กั ษณะน ตี้ อ้ งม กี ารป ระเมนิ ก ลยทุ ธ์
ในระดับทั้งองค์การด้วย การที่ต้องป ระเมินกลยุทธ์ทั้งองค์การก็เพราะว ่ามีหลายหน่วยงานหลายหน่วยธุรกิจกลยุทธ์
และห ลายผ ลติ ภณั ฑท์ แี่ ขง่ ขนั ก นั เองในก ารส รา้ งร ายไดแ้ ละในก ารไดร้ บั ก ารจ ดั สรรท รพั ยากรจ ากอ งคก์ าร ทำใหอ้ งคก์ าร
ต้องป ระเมินก ลยุทธ์เพื่อต ัดสินใจว่าหน่วยง านใดห รือผ ลิตภัณฑ์ใดค วรได้รับการสนับสนุนหรือย ุบเลิก
กลยุทธ์ในระดับหน่วยงาน (Business-level Strategy) เป็นกลยุทธ์ที่ใช้สำหรับองค์การที่มีหน่วยงาน
ผลิตภัณฑเ์ดียวซ ึ่งใหบ้ ริการอ ยูใ่นต ลาดท ีไ่มห่ ลากห ลายห รืออ าจใชก้ ับอ งค์การท ีม่ ขี นาดใหญซ่ ึ่งม หี ลายห น่วยง านห รือ
ฝ่าย (division) ที่มีส ินค้าแ ละบริการแตกต่างจ ากฝ่ายอื่น และแต่ละฝ่ายต ้องแ ข่งขันกับค ู่แข่งภายนอกในตลาดท ี่ต่าง
กัน ดังน ั้นจ ึงเปรียบเทียบแ ต่ละห น่วยง านห รือฝ ่ายเป็นธ ุรกิจย ่อยๆ หรือห น่วยธ ุรกิจย ่อย เรียกว ่าห น่วยธ ุรกิจก ลยุทธ์
(Strategic-Business Unit หรอื SBU) ซึง่ ดำเนนิ ง านเปน็ อ สิ ระต อ่ ก นั ภ ายในอ งคก์ ารใหญโ่ ดยม กี ลยทุ ธเ์ ปน็ ข องต นเอง
ในแต่ละหน่วย กลยุทธ์ในระดับหน่วยงานนี้จะมุ่งเพื่อการแข่งขันและครอบคลุมในเรื่องการสร้างความได้เปรียบใน
การแข่งขัน การจัดสรรทรัพยากรภายในหน่วยธุรกิจ การสร้างความแตกต่างในผลิตภัณฑ์ การมีประสิทธิภาพและ
คุณภาพในกระบวนการผลิต และออกแบบ และก ารเน้นส่วนตลาดเป้าห มาย เป็นต้น
กลยุทธ์ในระดับหน้าที่ธุรกิจ (Functional-level Strategy) เป็นกลยุทธ์ในลักษณะที่แสดงขอบเขต
ก ารป ฏิบัติในเชิงเป็นแ ผนง านท ี่ช ัดเจนข องฝ ่ายต่างๆ ในแง่ข องเป้าห มายท ี่ต ้องการบ รรลุทรัพยากรที่ต ้องใช้ และระยะ
เวลาด ำเนนิ ก าร เพือ่ ส นบั สนนุ ก ลยทุ ธใ์ นร ะดบั ส งู ก วา่ ท กี่ ลา่ วม าแ ลว้ ผทู้ เี่ ขา้ ม าเกีย่ วขอ้ งในส ว่ นก ลยทุ ธน์ จี้ ะเปน็ ผ บู้ รหิ าร
จากฝ ่ายต ่างๆ ภายในอ งค์การ ซึ่งจ ะท ำห น้าที่แ ปรก ลยุทธใ์นร ะดับท ี่ส ูงก ว่าท ี่ม ีล ักษณะน ามธรรมใหเ้ป็นร ูปธ รรมในเชิง
ของกลุ่มแผนง าน หรือแ ผนงานโครงการแ ละแผนง บป ระมาณ
กิจกรรม 3.2.1
การจำแนกแ ผนตามขอบเขตครอบคลุมม ีหลักการอ ยา่ งไร
แนวต อบก ิจกรรม 3.2.1
เปน็ การจ ำแนกแ ผนต ามล กั ษณะข อบเขตค วามค รอบคลมุ กลา่ วค อื ม กี ารจ ำแนกเปน็ 2 ลกั ษณะท ส่ี ำคญั
คอื
1) แนวทางดำเนนิ ง าน ซึ่งเปน็ ล กั ษณะของแผนท่ีใหแ้ นวทางในเชงิ กว้างและเปน็ น ามธรรมในรปู ของ
วสิ ยั ท ศั น์ ภารกจิ ปรชั ญา นโยบาย วัตถปุ ระสงค์ และก ลยทุ ธ์
2) แผนปฏิบัติการ ซึ่งมีลักษณะความเป็นรูปธรรมมากกว่า ในรูปของแผนงาน แผนงบประมาณ
ระเบยี บวธิ ีป ฏบิ ัติ วธิ ีการท ำงาน และม าตรฐาน
ลขิ สทิ ธิ์ของมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช