Page 11 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 11

รายการอาหารแลกเปลี่ยน 2-9

สาร​อาหาร​โปรตีน ไข​มัน คาร์โบไฮเดรต และ​พลังงาน​โดย​เฉลี่ย​ใกล้​เคียง​กัน จึง​สามารถ​แลก​เปลี่ยน​กัน​ได้​ใน​หมวด​
เดียวกัน ซึ่ง​ทำให้​สะดวกส​ ำหรับ​นัก​กำหนดอ​ าหารใ​น​การ​กำหนดห​ รือ​จัดอ​ าหาร​ได้​อย่างร​ วดเร็ว ถูก​ต้อง​เหมาะส​ ม และ​
ทำให้ผ​ ูบ้​ ริโภคส​ ามารถเ​ลือกบ​ ริโภคช​ นิดแ​ ละป​ ระเภทอ​ าหารไ​ดต้​ ามห​ มวดอ​ าหารแ​ ลกเ​ปลี่ยนใ​ห้เ​หมาะก​ ับโ​รคข​ องผ​ ูป้​ ่วย​
อีก​ด้วย

       3.4 	ช่วย​ให้​สามารถ​เลือก​อาหาร​ได้​หลาก​หลาย รายการอ​ าหารแ​ ลกเ​ปลี่ยนช​ ่วยใ​ห้​ผู้​ป่วยห​ รือ​บุคคลท​ ี่​มีภ​ าวะ​
ต้อง​ได้​รับ​การ​จัด​รายการ​อาหาร​เฉพาะ​ตาม​ที่​กำหนด สามารถ​เลือก​อาหาร​ได้​หลาก​หลาย​ชนิด​ทั้ง​ลักษณะ​และ​รสชาติ​
อาหารต​ ามต​ ้องการ และท​ ำใหไ้​ด้ร​ ับส​ ารอ​ าหารต​ ่างๆ ครบถ​ ้วนต​ ามท​ ี่ร​ ่างกายต​ ้องการอ​ ีกด​ ้วย รายการอ​ าหารแ​ ลกเ​ปลี่ยน​
ยัง​สามารถใ​ช้​สลับส​ ับเ​ปลี่ยน​หมุนเวียนภ​ ายในห​ มวด​อาหารเ​ดียวกัน หรือก​ ับ​หมวดอ​ า​หา​รอื่นๆ ที่ใ​ห้ส​ าร​อาห​ าร​คล้ายๆ
กัน เพื่อใ​ห้ไ​ด้​อาหาร​หลาก​หลาย​ชนิด​ใน​แต่ละ​มื้อม​ ี​ความ​หลากห​ ลาย​ไม่​จำเจ

       3.5 	เป็นส​ ื่อค​ วามร​ ู้ค​ วามเ​ข้าใจ​ทาง​โภชนาการ และ​การนำ​มาใ​ช้ใ​น​ชีวิตป​ ระจำ​วัน รายการ​อาหารแ​ ลก​เปลี่ยน​
เป็นการก​ ำหนดส​ ัดส่วนอ​ าหารห​ มวดต​ ่างๆ ในป​ ริมาณท​ ี่ใ​ห้พ​ ลังงานแ​ ละส​ ารอ​ าหารใ​กล้เ​คียงก​ ัน จึงส​ ามารถใ​ช้เ​ป็นส​ ื่อใ​น​
การใ​ห้ค​ วาม​รู้ ความ​เข้าใจ​เกี่ยว​กับ​การบ​ ริโภคอ​ าหารเ​พื่อ​สุขภาพ​ที่​ดีข​ องป​ ระชาชน

       สำหรับ​ประชาชนท​ ั่วไปร​ วม​ถึง​ผู้​ป่วย​ที่ม​ ีก​ ารค​ วบคุม​ด้านอ​ าหาร ​ยังส​ ามารถน​ ำ​ความ​รู้​เรื่อง​อาหาร​แลก​เปลี่ยน​
มา​ใช้​ใน​ชีวิต​ประจำ​วัน เพื่อ​การ​ควบคุม​น้ำ​หนัก​ให้​อยู่​ใน​เกณฑ์​ที่​เหมาะ​สม ช่วย​ให้​มี​ความ​รู้​เรื่อง​การ​ควบคุม​ปริมาณ​
อาหารใ​ห้ไ​ด้ส​ ัดส่วนต​ ามท​ ี่แ​ พทย์ก​ ำหนด โดยเ​ลือกอ​ าหารไ​ด้ห​ ลากห​ ลายจ​ ากร​ ายการอ​ าหารแ​ ลกเ​ปลี่ยนอ​ าหารใ​นห​ มวด​
เดียวกัน​  ทำให้​สามารถ​ควบคุม​อาหาร​ได้​ตาม​บริโภค​นิสัย​ของ​ตนเองและ​ให้​เหมาะ​สม​กับ​โรค​ที่​เป็น เช่น ใน​ผู้​ที่​เป็น​
โรคเบา​หวาน​จะ​มี​ความ​รู้ และ​สามารถ​เลือก​รับ​ประทาน​อาหาร​ตาม​สัดส่วน​ที่​กำหนด​ได้​ทำให้​เกิด​ผล​ดี​ต่อ​สุขภาพ นั่น​
คือ  ร​ ะดับก​ ลูโคสแ​ ละไ​ขม​ ันใ​นเ​ลือดอ​ ยูใ่​นร​ ะดับใ​กล้เ​คียงก​ ับป​ กติไ​ด้ ช่วยป​ ้องกันห​ รือล​ ดภ​ าวะแ​ ทรกซ้อนท​ ีอ่​ าจเ​กิดจ​ าก​
โรคเ​บา​หวาน เช่น ลดภ​ าวะ​โรค​ไต​แทรกซ้อน​ได้ เป็นต้น

       นอกจากน​ ี้ รายการอ​ าหารแ​ ลกเ​ปลี่ยนย​ ังม​ ีป​ ระโยชน์ท​ างอ​ ้อมค​ ือ ประหยัดง​ บป​ ระมาณด​ ้านก​ ารร​ ักษาพ​ ยาบาล
ทั้งนี้ เนื่องจาก​การ​บริโภค​อาหาร​ที่​เหมาะ​สม​สามารถ​ส่ง​เสริมสุข​ภาพ​แก่​ประชาชน และ​เสริม​สร้าง​ประสิทธิภาพ​ใน
ก​ ารบ​ ำบัดโ​รคด​ ้วยอ​ าหารแ​ ละโ​ภชนาการ เมื่อร​ ่างกายไ​ด้ร​ ับโ​ภชนาการท​ ี่เ​หมาะส​ มจ​ ะช​ ่วยป​ ้องกันโ​รค ตลอดจ​ นส​ ามารถ
ฟ​ ื้น​ตัวจ​ าก​การเ​จ็บป​ ่วยไ​ด้เ​ร็ว​ขึ้น ย่อม​ส่งผ​ ลใ​น​การป​ ระหยัด​ค่า​ใช้​จ่าย​ด้าน​การ​รักษาพ​ ยาบาล​นั่นเอง

  กจิ กรรม 2.1.1
         ประโยชนข​์ อง​รายการ​อาหาร​แลก​เปลี่ยน​มอี​ ย่างไรบ​ ้าง

  แนว​ตอบก​ ิจกรรม 2.1.1
         รายการ​อาหาร​แลก​เปล่ียน​มี​ประโยชน์​ทั้ง​ทาง​ตรง​และ​ทาง​อ้อม ประโยชน์​ทาง​ตรง​คือ เป็น​เคร่ือง​มือ​ใน​

  การค​ ำนวณท​ างโ​ภชนาการ ชว่ ยใ​นก​ ารว​ างแผน และก​ ารค​ วบคมุ ก​ ารก​ นิ อ​ าหาร อำนวยค​ วามส​ ะดวกใ​นก​ ารก​ ำหนด​
  อาหาร​สำหรับ​ผู้​ป่วย​เฉพาะ​โรค ช่วย​ใน​การ​เลือก​อาหาร​ได้​หลาก​หลาย​ไม่​จำเจ และ​เป็น​ส่ือ​ความ​รู้​ความ​เข้าใจ​ทาง​
  โภชนาการ และ​การนำม​ าใ​ช้​ในช​ ีวิตป​ ระจำ​วัน

         ประโยชน์​ทาง​อ้อม​คือ ช่วย​ประหยัด​งบ​ประมาณ​ด้าน​การ​รักษา​พยาบาล เพราะ​การ​วางแผน​การ​บริโภค​
  อาหาร​ท่ี​เหมาะ​สม​ช่วย​ส่ง​เสริมสุข​ภาพ และ​เสริม​สร้าง​ประสิทธิภาพ​ใน​การ​บำบัด​โรค​ให้​สามารถ​ฟ้ืน​ตัว​จาก​การ​
  เจบ็ ​ปว่ ยไ​ดเ​้ ร็ว​ข้ึน

                              ลิขสทิ ธิ์ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16