Page 13 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 13
รายการอาหารแลกเปลี่ยน 2-11
โปรตีน : ไขมัน : คาร์โบไฮเดรต
10 : 25 : 65 = 100 ส่วน
15 : 30 : 55 = 100 ส่วน
20 : 30 : 50 = 100 ส่วน
การกระจายสัดส่วนพลังงานนี้ควรเป็นไปตามสมดุลพลังงานที่ร่างกายควรจะได้รับ แต่ในกรณีของ
ผู้ป ่วย แพทย์จ ะก ำหนดส ัดส่วนต ามล ักษณะข องโรค เช่น โรคไต อาจก ำหนดล ดโปรตีนล งต ่ำส ุด คือร ้อยล ะ 10 ไขม ัน
อาจเท่ากับร ้อยละ 30 และค าร์โบไฮเดรตร้อยละ 60 รวมทั้งส ามช นิดแล้วเท่ากับ 100 เป็นต้น ที่ส ำคัญคือ สัดส่วนจะ
อยู่ในช ่วงของส มดุลพ ลังงานต ามหลักโภชนาการข้างต ้น
1.1.2 ปริมาณพลังงานที่ได้จากสารอาหารหลัก โดยทั่วไปพลังงานที่ผู้ใหญ่ควรได้รับต่อวันประมาณ
2,000 กิโลแ คลอรี การคิดพ ลังงานจ ากส ารอ าหารหลังส ามารถห าได้จ ากสัดส่วนก ารกระจายพ ลังงานตามท ี่กำหนดใน
ข้อ 1.1.1 เช่นก ำหนดให้พลังงานค วรได้ร ับจากโปรตีนร ้อนล ะ 20 ไขม ันร ้อยล ะ 30 และคาร์โบไฮเดรตร้อยละ 50 นั้น
หมายถ ึง 20 × 2,000
100
พลังงานท ี่ได้จ ากโปรตีน คิดเป็น = 400 กิโลแคลอรี
พลังงานท ี่ได้จากไขม ัน คิดเป็น 30 × 2,000 = 600 กิโลแคลอรี
100
พลังงานท ี่ได้จากค าร์โบไฮเดรต คิดเป็น 50 × 2,000 = 1,000 กิโลแคลอรี
100
หมายความว่า พลังงานที่ร่างกายต ้องการวันล ะ 2000 กิโลแคลอรี ได้จากโปรตีน 400 กิโลแ คลอรี คิด
เป็นร ้อยล ะ 20 ได้จ ากไขม ัน 600 กิโลแ คลอรี คิดเป็นร ้อยล ะ 30 และได้จ ากค าร์โบไฮเดรต 1,000 กิโลแ คลอรี คิดเป็น
ร้อยละ 50 หรือค รึ่งห นึ่งของ 2,000 กิโลแ คลอรี นั่นเอง
1.2 การกำหนดสารอาหารสำหรับการลดน้ำหนัก การกำหนดปริมาณพลังงานที่ได้จากการรับประทานให้
เหมาะส มน ั้นเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถร ักษาน้ำหนักต ัวหรือค วบคุมน ้ำห นักต ัวให้อ ยู่ในเกณฑ์ที่ควรเป็น เช่น ผู้ท ี่มีน ้ำหนัก
เกินห รืออ้วนควรลดน ้ำหนักตัวให้ได้ป ระมาณร้อยล ะ 5-10 ของน ้ำหนักที่เป็นอยู่ในขั้นแรกก ่อนลดน้ำหนัก และรักษา
น้ำห นักท ี่ล ดให้ได้อ ย่างต ่อเนื่องร วมท ั้งป รับว ิถีก ารด ำเนินช ีวิตให้ถ ูกต ้องแ ละเหมาะส ม จะช ่วยล ดภ าวะแ ทรกซ้อนข อง
โรคอ ้วนได้ การใหโ้ภชนบ ำบัดในก ารร ักษาโรคอ ้วนอ าจใชห้ ลักก ารข องส ถาบันส ุขภาพแ ห่งช าติ (National Institute of
Health) ดังแ สดงในตารางที่ 2.1
ลิขสิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช