Page 15 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 15
รายการอาหารแลกเปลี่ยน 2-13
1.3 การกำหนดปริมาณโปรตีน โดยทั่วไปการกระจายพลังงานจากโปรตีนควรประมาณร้อยละ 10-20
ของพ ลังงานทั้งหมดต่อวัน อย่างไรก ็ตามโรคบางโรค เช่น โรคไตในระยะเริ่มต้น ปริมาณสารอ าหารโปรตีนอาจลดลง
น้อยก ว่าร ้อยล ะ 10 ของพ ลังงานทั้งหมด หรือในบ างร ายอ าจต ้องการโปรตีนเพิ่มข ึ้น เช่น ในร ายท ี่ม ีก ารต ิดเชื้อ อาจต ้อง
เพิ่มโปรตีนให้ได้มากกว่าร้อยละ 20 ของพ ลังงานท ั้งหมดต ่อวัน โดยเน้นแ หล่งข องโปรตีนจ ากเนื้อสัตว์ท ี่ม ีไขม ันน ้อย
เช่น ปลา ไก่ ถั่วเมล็ดแห้งและผ ลิตภัณฑ์จ ากถั่วเมล็ดแห้ง
1.4 การกำหนดป ริมาณไ ขม ัน ปริมาณไขมันก ำหนดให้บริโภคป ระมาณร้อยละ 20-30 ของพลังงานท ั้งหมด
โดยค ำนึงถ ึงช นิดข องไขม ันแ ละโคเลสเตอรอลให้เหมาะส มก ับแ ต่ละบ ุคคล ซึ่งข ึ้นอ ยูก่ ับร ะดับไขม ันในเลือดข องบ ุคคล
นั้น ผู้ที่มีความผิดปกติของระดับไขมันในเลือด ควรควบคุมระดับไขมันในเลือด โดยใช้หลักโภชนบำบัดด้วยการ
ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต (Therapeutic Lifestyle Changes Diet หรือ TLC Diet) ร่วมด ้วย ดังแสดงในตารางท ี่ 2.2
ตารางท ่ี 2.2 โภชนบ ำบัดในผ ู้ท่มี ีร ะดบั ไ ขม นั ในเลือดสูงด ว้ ยการป รบั เปลย่ี นว ถิ กี ารก นิ อาหาร (TLC Diet)
สารอาหาร ปรมิ าณท่ีควรบรโิ ภคตอ่ วัน
ไขมัน (% พลังงาน) 25-35
ไขมันอิ่มตัว (SFA) <7
ไขมันไม่อิ่มตัวหลายตำแหน่ง (PUFA) 10
ไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่งเดียว (MUFA) ≥ 20
คาร์โบไฮเดรต (% พลังงาน) 50-60
โปรตีน (% พลังงาน) 15
ใยอาหาร (กรัม) 20-30
โคเลสเตอรอล (มิลลิกรัม) < 200
พลังงาน เพื่อรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่ควรเป็น
ทีม่ า: Expert Panel on the identification, Evaluation, and Treatment of High Blood cholesterol in Adults, 2001.
ผู้ที่มีค วามผิดป กติของร ะดับไขมันในเลือด ควรบ ริโภคอาหารต ามห ลักข องโภชนบำบัดด ้วยการป รับเปลี่ยน
วิถีช ีวิต (TLC Diet) ร่วมกับการลดป ัจจัยเสี่ยง เช่น เพิ่มการออกกำลังกาย ลดน้ำหนักต ัว ลดความเครียด ลดหรือ
เลิกบุหรี่และสุรา จะสามารถลดความเสี่ยงต่อการเกิดความผิดปกติของไขมันในเลือดและโรคหลอดเลือดหัวใจ
ซึ่งเป็นป ัญหาสาธารณสุขข องประเทศ และเป็นปัญหาท ี่มักพบในผู้ที่เป็นโรคเบาห วาน
1.5 การก ำหนดป รมิ าณแ ละก ารกร ะจ ายค าร์โบไฮเดรต การก ำหนดป ริมาณแ ละก ารกร ะจ ายต ัวข องส ารอ าหาร
ที่เป็นแ หล่งของคาร์โบไฮเดรตต่อวัน เป็นการกำหนดให้บ ริบโภคอ าหารให้ค าร์โบไฮเดรตประมาณร ้อยละ 50-60 ของ
พลังงานทั้งหมด โดยให้มีการเฉลี่ยปริมาณการบริโภคต่อวันตามรายการอาหารแลกเปลี่ยน และควรเน้นอาหารที่มี
คาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน เช่น ข้าวก ล้อง ขนมปังโฮลเกรน เป็นต้น ร่วมในการว างแผนและกำหนดอ าหาร
1.6 การลดปริมาณโซเดียม การศึกษาทางระบาดวิทยาพบว่า การบริโภคโซเดียมในปริมาณมากมีความ
สมั พนั ธก์ บั โรคค วามด นั โลหติ ส งู อาหารส ำหรบั ผ ทู้ มี่ ปี ญั หาค วามด นั โลหติ ส งู ค วรล ดโซเดยี มใหน้ อ้ ยก วา่ 2,000 มลิ ลกิ รมั
ต่อวัน (< 2,000 มก/วัน) คือบ ริโภคเกลือให้น ้อยก ว่า 5 กรัมต่อวัน (เกลือ 5 กรัม เท่ากับ 1 ช้อนชา)
สำหรับผ ู้ป ่วยม ีอ าการเท้าบ วม และภ าวะท ้องม าน (บวมเพราะน ้ำค ั่งในช ่องท ้อง) ควรจ ำกัดก ารบ ริโภคเกลือให้
เท่ากับปริมาณท ี่ร ่างกายส ูญเสียไปทางผิวหนัง เพื่อทดแทนเกลือนั้น คือ ควรได้รับเกลือ 1 กรัมต่อว ัน
ลิขสทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช