Page 12 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 12
2-10 อาหารและโภชนบำบัด
เรื่องท่ี 2.1.2
หลกั ก ารกำหนดอาหารแ ลกเปล่ยี นทเี่ หมาะกบั ล ักษณะข องโรค
การก ำหนดอ าหารแ ลกเปลี่ยนให้เหมาะก ับโรคเป็นส ิ่งจ ำเป็นเพื่อให้ผ ู้ป ่วยได้ร ับส ารอ าหารต ามท ี่ก ำหนดอ ย่าง
เหมาะส มก ่อใหเ้กิดป ระสิทธิภาพในก ารร ักษาโรค เนื่องจากจ ะช ่วยใหร้ ่างกายเข็งแ รงข ึ้น การก ำหนดส ารอ าหารในแ ต่ละ
โรคย ่อมแตกต ่างกันไป โดยอ าจจ ะมีการเพิ่มหรือล ดสารอาหารบางช นิดลงเพื่อให้เหมาะก ับสภาวะของโรค เช่น ผู้ป่วย
ที่เป็นเบาหวานจะมีการจำกัดปริมาณคาร์โบไฮเดรตลงจากปริมาณที่การกินปกติ หรือในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังแต่ยัง
ไม่มีการปลูกถ่ายหรือล้างไต จะต้องลดปริมาณการบริโภคโปรตีนลง เนื่องจากไตเสื่อมสมรรถภาพไม่สามารถกำจัด
สารยูเรียที่เกิดจากการเผาผลาญโปรตีน ทำให้ม ีของเสียค ั่งในร่างกายเกิดเป็นพ ิษได้
ในทางกลับกันถ้าผู้ป่วยมีแผลติดเชื้อ ร่างกายจำเป็นต้องได้รับสารโปรตีนเพิ่มขึ้นเพื่อช่วยซ่อมแซมเซลล์ใน
ร่างกาย ควรบ ริโภคส ารอ าหารป ระเภทโปรตีนม ากข ึ้น นอกจากน ี้ การก ำหนดอ าหารใหเ้หมาะส มต ้องม ีค วามส มดุลข อง
การกระจ ายตัวข องพลังงานท ี่ได้จ ากแหล่งสารอาหารห ลักค ือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ให้เป็นไปตามแ นวทาง
ปฏิบัติด้านโภชนบำบัดของแต่ละโรค ดังนั้น ผู้ปฏิบัติงานด้านการกำหนดอาหารและโภชนาการจำเป็นต้องมีความรู้
ทางคณิตศาสตร์เบื้องต ้นเพื่อค ำนวณรายการอาหารแลกเปลี่ยน รวมท ั้งการจ ัดอาหารให้เป็นไปต ามที่กำหนด เพื่อให้
มีแนวทางป ฏิบัติด ้านโภชนบำบัดเฉพาะโรค จึงจะก่อให้เกิดป ระสิทธิภาพและป ระสิทธิผลสำหรับอาหารบ ำบัดโรค
1. การกำหนดส ดั สว่ นอ าหารให้เหมาะกบั ล กั ษณะโรค
หลักก ารก ำหนดส ดั ส่วนอ าหารใหเ้หมาะก ับล กั ษณะโรคค วรพ จิ ารณาถ งึ ส มดุลพ ลงั งานอ าหารจ ากแ หล่งอ าหาร
หลักท ี่ให้พลังงาน การกำหนดปริมาณโปรตีน ไขม ัน คาร์โบไฮเดรต โซเดียม และการด ัดแปลงรายการให้เหมาะส ม
1.1 การก ำหนดส มดลุ พ ลงั งานอ าหารท เี่ หมาะส ม หลกั โภชนาการท มี่ คี วามส ำคญั ค อื สดั สว่ นส มดลุ พ ลงั งานท ี่
ไดจ้ ากส ารอ าหารท ใี่ หพ้ ลงั งานห ลกั ค อื โปรตนี ไขม นั และค ารโ์ บไฮเดรต และป รมิ าณพ ลงั งานท ไี่ ดจ้ ากส ารอ าหารห ลกั น ัน้
1.1.1 สัดส่วนสมดุลพลังงานจากสารอาหารหลักที่ให้พลังงาน สารอาหารหลักที่ให้พลังงานคือ
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขม ัน ร่างกายค วรได้ร ับพ ลังงานในแ ต่ละว ันให้พ อเหมาะ ไม่ม ากห รือน ้อยเกินไป ปริมาณ
พลังงานที่ร่างกายควรได้รับจะขึ้นกับ เพศ วัย และลักษณะการใช้กำลังงานของแต่ละบุคคล นอกจากปริมาณที่พอ
เหมาะแล้วยังต้องคำนึงถึงสัดส่วนพลังงานได้รับจากสารอาหารหลักอย่างสมดุล ที่เรียกว่าสมดุลพลังงาน คือการ
กระจายพ ลังงานจากสารอาหารที่เหมาะสม สมดุลพลังงานตามห ลักโภชนาการมีการกำหนดจ ากห น่วยง านท ี่เกี่ยวข้อง
แตกต่างกันไปบ้าง เช่น สมาคมโรคหัวใจแห่งสหรัฐอเมริกา สมาคมนักกำหนดอาหารแห่งสหรัฐอเมริกาได้แนะนำให้
บริโภคโปรตีน ร้อยล ะ 10-20 คาร์โบไฮเดรต ร้อยล ะ 50-60 และไขมัน ร้อยละ 20-30 สำหรับข ้อกำหนดส ารอ าหารที่
ควรไดร้ บั ป ระจำว นั ส ำหรบั ค นไทย ตามท คี่ ณะก รรมการส วสั ดกิ ารอ นามยั กระท รว งสธ ารณส ขุ กำหนดส ดั สว่ นพ ลงั งาน
ที่ร่างกายควรได้รับต่อวัน ดังนี้
พลังงานจากโปรตีน ร้อยล ะ 10-15
พลังงานจากไขม ัน ร้อยละ 20-35
พลังงานจากค าร์โบไฮเดรต ร้อยละ 45-65
ผลรวมของสัดส่วนพลังงานจากแหล่งอาหารทั้งสามชนิดดังกล่าวแล้วจะเป็น 100 ส่วน และพลังงาน
จากสารอ าหารอาจมีส ัดส่วนได้ไม่เกินช ่วงของร ้อยละที่ก ำหนดไว้ข้างต้น เช่น
ลขิ สทิ ธข์ิ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช