Page 163 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 163
อาหารกับโรคความดันโลหิตสูง 10-33
4. แม้ว่าปัจจุบันยังไม่ทราบแน่ชัดว่า การเปลี่ยนแปลงชนิดของไขมันในอาหารจะช่วยลดความดัน
โลหติ สงู กต็ าม แตอ่ ยา่ งนอ้ ยการรบั ประทานอาหารจำ�กดั ไขมนั จะชว่ ยปอ้ งกนั การเกดิ โรคหวั ใจ ซง่ึ เปน็ ปจั จยั เสย่ี ง
ตอ่ โรคความดนั โลหติ สงู ท่ีสำ�คญั ทีส่ ดุ
5. อาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรตที่ผู้ปว่ ยโรคความดนั โลหติ สงู ควรได้รับ คือ น้าํ ตาลช้นั เดี่ยว หรอื นาํ้
ตาลสองชัน้ เพ่ือให้การเผาผลาญพลังงานเกิดขน้ึ ไดเ้ รว็ ที่สุด
แนวตอบกิจกรรม 10.4.1
ข้อ 2 และ ขอ้ 3 ถกู
เรอื่ งท่ี 10.4.2
อาหารจ�ำ กดั โซเดียม
อาหารจำ�กัดโซเดียม หมายถึง การจัดอาหารและเครื่องดื่ม รวมทั้งเครื่องปรุงรส และอื่นๆ ที่ผู้ป่วยบริโภค
ใน 1 วัน ให้มีปริมาณโซเดียมน้อยกว่าระดับที่คนปกติได้รับ
1. ภาวะที่จ�ำ เป็นตอ้ งใชอ้ าหารจ�ำ กดั โซเดยี ม ได้แก่
1) ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
2) ผู้ป่วยโรคไต
3) ผู้ป่วยโรคหัวใจ
4) ผู้ป่วยโรคตับแข็ง
5) ผู้ป่วยที่แพทย์ให้ยาประเภทฮอร์โมนที่ออกฤทธิ์ทำ�ให้เกิดการกักโซเดียม (และกักนํ้า) เช่น ฮอร์โมนจาก
สว่ นนอก (cortex) ของต่อมหมวกไต และฮอรโ์ มนที่กระตุ้นให้มกี ารหลั่งของฮอรโ์ มนดงั กลา่ ว (เชน่ ACTH Andreno
cortico tropic hormone จากต่อมใต้สมอง)
2. ระดับการจ�ำ กัดโซเดียมในผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหติ สงู
ระดับความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงตามที่กล่าวไว้ในเรื่องที่ 10.1.3 แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการ
อาหารสามารถแบ่งผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้
2.1 ผปู้ ว่ ยโรคความดนั โลหติ สงู อยา่ งออ่ น นิยมใช้การจำ�กัดระดับตํ่ากว่าปกติเพียงเล็กน้อยไม่ต้องชั่งอาหาร
ไม่ต้องชั่งตวงเกลือที่ใช้ปรุงรส
2.2 ผปู้ ว่ ยโรคความดนั โลหติ สงู ระดบั ทตี่ อ้ งจำ�กดั โซเดยี มอยา่ งเครง่ ครดั ต้องชั่งอาหารที่กินและชั่งตวงเกลือ
ที่ใช้ปรุงอาหารใน 1 วัน
ลขิ สทิ ธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช