Page 168 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 168
10-38 อาหารและโภชนบำ�บัด
5. ตวั อย่างการก�ำ หนดและคำ�นวณปริมาณโซเดียมในอาหาร
5.1 การกำ�หนดปริมาณใชส้ ่วนแลกเปล่ียนและปรมิ าณโซเดยี ม ใช้ปริมาณเฉลี่ยที่มีในอาหารแลกเปลี่ยนหมู่
ต่างๆ อาหารให้โปรตีนประมาณ 60 กรัม ไม่จำ�กัดพลังงาน แสดงในตารางที่ 10.4
ตารางท่ี 10.4 ปรมิ าณส่วนอาหารแลกเปลยี่ นและปริมาณโซเดยี ม
ปรมิ าณอาหารหลักใน 1 วัน โปรตีน (กรมั ) โซเดยี ม (มลิ ลกิ รัม)
พวกเนื้อสัตว์ 6 ส่วน 42 220
เป็นพวกมีโซเดียมน้อย 4 ส่วน (28) (100)
เป็นพวกมีโซเดียมมาก 2 ส่วน (14) (120)
(เช่น ไข่ กุ้ง ปู หอยทะเล) 6.5 25
พวกข้าว
ข้าวเจ้า 5 ส่วน (5 × 1.3) 6.0 15
แป้งสาลี (ยกเว้นขนมปัง) 3.0 27
(เช่น มักกะโรนี) 3 ส่วน (3 × 2) 3.0 6
ผัก 3 ส่วน - -
ผลไม้ 3 ส่วน
ไขมัน นํ้ามันพืช 3-4 ช้อนโต๊ะ 60.5 293
รวมท้งั วนั ได้
ถ้าไม่จำ�กัดพลังงานก็ใช้นํ้ามันพืช เช่น นํ้ามันถั่วเหลืองและใช้อาหารจำ�พวกวุ้นเส้น ก๋วยเตี๋ยวเซี่ยงไฮ้ ได้เท่า
ที่ต้องการและอาจใช้นํ้าตาลได้บ้าง (อาหารที่กล่าวมานี้ไม่มีโปรตีนและไม่มีโซเดียม จึงไม่มีผลต่อปริมาณของโปรตีน
และโซเดียมที่ได้คำ�นวณไว้ในตัวอย่างข้างต้น จะมีผลแต่เพียงได้พลังงานมากขึ้น)
หมายเหต:ุ
1) ต ัวอย่างอาหารที่ยกมานี้ เพียงเพื่อจะเป็นตัวอย่างการคำ�นวณปริมาณโซเดียมในอาหารหลักทั้งวันว่าเป็นเท่าไร
เพื่อจะได้คำ�นวณต่อไปว่า ถ้าจำ�กัดโซเดียมระดับที่กำ�หนดให้ จะเติมเกลือได้สักเท่าไร จึงมิได้จำ�แนกออกเป็น
รายการอาหารในแต่ละมื้อ
2) การคำ�นวณปริมาณโซเดียมในอาหาร เพื่อความสะดวกในทางปฏิบัติโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจ�ำ กัดระดับตํ่าปาน
กลาง ใช้ค่าเฉลี่ยของโซเดียมในอาหารหลักแต่ละหมู่ ปริมาณ 1 ส่วนแลกเปลี่ยน เช่น พวกข้าวเจ้าที่หุงต้มสุกแล้ว
1 ส่วน คือ ข้าวสุกประมาณ 1 ทัพพี (ปาด) หรือก๋วยเตี๋ยวเส้นใหญ่สุกประมาณ ¼ ถ้วยตวง ก็ถือว่ามีโซเดียม
5 มิลลิกรัมเท่ากัน
3) ผักทุกชนิดปริมาณ 1 ส่วน ก็ถือว่ามีโซเดียม 9 มิลลิกรัม ความจริง ผักต่างชนิดอาจมีโซเดียมต่างกันบ้าง ฉะนั้น
เมื่อจำ�กัดโซเดียมอย่างเคร่งครัด และจำ�กัดระดับตํ่ามาก ควรดูปริมาณโซเดียมในอาหารแต่ละชนิดในตารางข้าง
ท้าย
ลขิ สิทธ์ขิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช