Page 169 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 169

อาหารกับโรคความดันโลหิตสูง 10-39

5.2 	วธิ คี ดิ คำ�นวณปรมิ าณเกลอื ทคี่ วรใชใ้ น 1 วนั ตัวอยา่ งปริมาณอาหารหลักทีก่ ำ�หนดมารวมทั้งวนั ใหโ้ ปรตีน
60 กรัม ซึ่งพอเพียงสำ�หรับผู้ใหญ่ปกติ

ถ้าใช้อาหารหลักที่มิได้หมักดอง ปรุงแต่ง เช่น เนื้อสัตว์และไข่สด (มิใช่เนื้อเค็ม ไข่เค็ม) ผักสด ผลไม้ (มิใช่

ผักดองเกลือ ผลไม้ดองเกลือ) นำ�มาปรุงอาหารจะได้โซเดียมจากอาหารหลักเพียงประมาณ 300 มิลลิกรัม เท่านั้น

(293 มิลลิกรัม)
ถ้าผ้ปู ว่ ยจำ�กดั โซเดยี มระดบั วนั ละ 3,000 มลิ ลกิ รัม
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับโซเดียมเพิ่มเติมอีก (จากเกลือ) 	 =	 3,000 — 300	 มิลลิกรัม

	                                                          =	 2,700	                      มิลลิกรัม

เกลือมีโซเดียมอยู่ร้อยละ	                                  =	 40                  100
โซเดียมปริมาณนี้ควรได้จากเกลือ	                                                   40
                                                           =	  2,700           ×       	  มิลลิกรัม

	                                                          =	 6,750	                      มิลลิกรัม

	                                                          = 	 6.75	                      กรัม
                                                           	 1 31 	                       ช้อนชา
หรือเท่ากับเกลือ ประมาณ	                                   =	 1 31 	
นํ้าปลา 3 ส่วน เท่ากับเกลือ 1 ส่วน                         =	 1	                          ช้อนโต๊ะ
                                                                                          ช้อนชา
หากใช้นํ้าปลาควรใช้	
คือใช้นํ้าปลาได้มื้อละประมาณ	

หรือจะเก็บไว้ให้ผู้ป่วยเติมเองทั้งหมด ก็สุดแต่ผู้ป่วยจะพอใจ แต่ระวังการเติมซํ้าซ้อน

ถ้ารายการอาหารที่จัดมีส่วนประกอบเป็นอาหารที่ควรงด เช่น แกงส้ม มีกะปิเป็นเครื่องปรุง ก็ให้ตัดส่วนประ

กอบนั้นๆ ออก (งดใส่กะปิในเครื่องแกงส้ม)

นํ้าปลาหวาน ก็ตัดนํ้าปลาออก คงใช้แต่นํ้ามะขามเปียกเคี่ยวกับนํ้าตาลปึกแล้วปรุงแต่งด้วยหอมเจียว

กระเทียมเจียว และพริกแห้งทอด แล้วโรยต้นหอม ผักชี เพื่อช่วยให้ชวนกิน

เกลือหรือนํ้าปลา ผู้ป่วยมีสิทธิใช้ได้ใน 1 วันนั้นควรตวงใส่ขวดไว้สำ�หรับแต่ละวัน 1 ขวดต่อ 1 วัน และจะ

ดียิ่งขึ้น ถ้าแบ่งออกเป็น 3 ส่วน สำ�หรับปรุงรสอาหาร 3 มื้อ มื้อละ 1 ส่วน (วิธีนี้จะเหมาะกว่า เพราะผู้ป่วยจะได้รับ

โซเดียมเฉลี่ยกันไปใน 3 เวลา)

ขอ้ ส�ำ คญั ตอ้ งใชเ้ ฉพาะวนั หา้ มเกบ็ สว่ นหนึง่ ไวส้ มทบใชก้ บั อกี วนั หนึง่ เพราะจะทำ�ใหม้ วี นั ทีไ่ ดร้ บั โซเดยี มมาก

เกนิ สว่ น ซึง่ หากเปน็ โรคไตวายเรือ้ รงั อาจไมส่ ามารถขบั ถ่ายออกได้ ท�ำ ใหเ้ กดิ ภาวะกักโซเดยี ม ท�ำ ใหเ้ กดิ อาการตวั บวม
5.3 	ข้อแนะนำ�ในการเติมเกลือ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับโซเดียมปริมาณใกล้เคียงที่สุดกับปริมาณที่แพทย์สั่งควร
ปฏิบัติตน ดังนี้
   5.3.1 	ควรกินอาหารหลักทุกอย่างตามปริมาณท่ีแพทย์หรือนักก�ำ หนดอาหารแนะนำ� โดยไม่ใส่เครื่อง
ปรุงรสที่มีเกลือหรือมีโซเดียม นอกจากเกลือปริมาณที่แพทย์อนุญาต (ซึ่งคำ�นวณเปลี่ยนเป็นนํ้าปลาก็ได้)
   5.3.2 	เอาเกลอื ทไี่ ดร้ บั อนญุ าตใหเ้ ตมิ ไดใ้ สข่ วดไว้ แลว้ ใชเ้ กลอื ปรมิ าณดงั กลา่ วเทา่ นนั้ ในการปรงุ รสอาหาร
มื้อละ 1 ขวดก็ยิ่งดี) ไม่ใช้เครื่องปรุงรสอื่น และไม่ใช้สารปรุงแต่งอาหารที่มีโซเดียม เช่น ผงชูรส ฯลฯ
   5.3.3 	ถ้าไม่ชอบรสเกลืออาจคำ�นวณเปล่ียนเกลือให้เป็นน้ําปลา โดยถือว่านํ้าปลาที่เค็มจัดที่สุดมีเกลือ
โซเดียมคลอไรด์ร้อยละ 35 หรืออีกนัยหนึ่งมีเกลืออยู่ประมาณ 1 ใน 3 ของปริมาณนํ้าปลา

   ฉะนั้น หากผู้ป่วยมีสิทธิใช้เกลือได้วันละ 5 กรัม (1 ช้อนชา) ก็ย่อมเปลี่ยนเป็นใช้นํ้าปลาได้ 15 กรัม

(3 ช้อนชา) เกลือหรือนํ้าปลาที่แพทย์อนุญาตให้กินได้นี้ ผู้ป่วย (ที่อยู่บ้าน) ควรได้รับคำ�แนะนำ�ให้ชั่งหรือตวงใส่ขวด

ไว้สำ�หรับตนเองใช้โดยเฉพาะทุกวัน หรือใช้เฉพาะมื้อทุกมื้อ ถ้าอยู่ในโรงพยาบาล ฝ่ายจัดอาหารควรจัดหาให้

                              ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174