Page 174 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 174
10-44 อาหารและโภชนบำ�บัด
3. โซเดียมจากหมู 30 กรัม 25 มิลลกิ รมั
โซเดียมจากกุ้งทะเล 30 กรัม 60 มลิ ลกิ รัม
รวมโซเดยี มจากเน้ือสัตว์ 2 ชนดิ 85 มิลลิกรัม
สรุปจากข้อ 2 และ 3 ไดว้ ่า ไข่ไกข่ นาดกลาง 1 ฟอง ใชแ้ ทนเนอ้ื สตั วท์ ะเล 30 กรัม ไดท้ ัง้ ในดา้ น
โปรตนี และโซเดยี ม
4. อาหารหลักหมูข่ า้ วตามรายการ 1 ส่วน มีโซเดียมเท่ากันคอื = 5 มลิ ลกิ รัม
รวมท้งั วนั ผู้ป่วยกินอาหารหมู่ข้าว 7 ส่วน มีโซเดยี ม = 7 × 5 มิลลิกรมั
= 35 มิลลกิ รัม
5. ขนมปงั ปอนด์ธรรมดา 1 สว่ น คอื 1 แผน่ มาตรฐาน มโี ซเดียม = 128 มลิ ลิกรมั
ขนมปังปอนดธ์ รรมดา 7 ส่วน คือ 7 แผน่ มาตรฐาน มโี ซเดียม = 128 × 7 มลิ ลิกรมั
= 896 มิลลกิ รัม
6. ขนมทีค่ นไขจ้ ำ�กดั โซเดียมกนิ ได้ คอื ก. ข. จ.
ค. กนิ ไม่ได้เพราะมีเกลือท้งั ในข้าวเหนยี วมนู และปลาแห้งผดั
ง. กินไมไ่ ดเ้ พราะมีเกลือในไสถ้ ่ัวทผ่ี ัดซ่งึ เปน็ ไสเ้ คม็
เรอื่ งที่ 10.4.3
อาหารจ�ำ กัดไขมัน
1. วตั ถปุ ระสงค์ในการจำ�กดั ไขมนั
แพทย์อาจสั่งให้ผู้ป่วยกินไขมันให้น้อยลงด้วยจุดมุ่งหมายต่างๆ กันดังนี้
1.1 เพื่อลดนํ้าหนักตัว ไขมันเป็นสารอาหารที่ถูกเผาพลาญให้พลังงานได้มากที่สุด หากผู้ป่วยที่อ้วนมีนิสัย
ชอบกินมันมาก การลดปริมาณไขมันลงย่อมมีผลลดพลังงานที่ได้รับจากอาหารลงได้มาก มีผลให้นํ้าหนักตัวลดลงได้
1.2 เพอ่ื ลดปจั จยั เสย่ี งตอ่ โรคตา่ งๆ รวมทั้งโรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งรวมโรคความดันโลหิตสูงด้วย ทั้งยัง
ใช้ในการบำ�บัดโรคเหล่านี้ ร่วมไปกับข้อปฏิบัติอื่นๆ เช่น งดสูบบุหรี่ ออกกำ�ลังกาย รวมทั้งการใช้ยา
1.3 เพื่อบรรเทาอาการของโรค เช่น โรคตับ หรือโรคของถุงนํ้าดี (gallbladder) โรคดังกล่าวมักจะเป็นเหตุ
ให้มีนํ้าดี (bile) ลงมาสู่ลํ้าไส้เล็กน้อยกว่าปกติ (มักมีอาการดีซ่าน) ทำ�ให้การย่อยไขมันเป็นไปได้ยาก ถ้ากินไขมันมาก
อาจมีอาการคลื่นไส้ท้องอืด หรือในกรณีที่มีนิ่วในถุงนํ้าดีและถุงนํ้าดีอักเสบ เมื่อกินไขมันมาก ถุงนํ้าดีจะบีบตัวทำ�ให้
มีอาการเจ็บปวดมาก การกินไขมันน้อยลงอาจบรรเทาอาการดังกล่าวได้
ผู้ป่วยที่ต้องจำ�กัดไขมัน จึงควรศึกษาให้ทราบว่า อาหารอะไรบ้างที่มีไขมันมาก และชนิดไหนควรงดเว้น
ชนิดไหนควรลดปริมาณให้น้อยลง สิ่งสำ�คัญที่ควรทราบเกี่ยวกับการจำ�กัดไขมัน คือ
1) ไขมันเป็นสารอาหารที่จำ�เป็นต่อร่างกายจะขาดเสียมิได้ ฉะนั้น เมื่อต้องกินอาหารจำ�กัดไขมัน จึงมี
ความหมายแต่เพียงว่า กินไขมันปริมาณน้อยลงกว่าที่เคยกินมิใช่งดกินโดยเด็ดขาด
ลขิ สทิ ธ์ขิ องมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช