Page 165 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 165

อาหารกับโรคความดันโลหิตสูง 10-35

                   ตารางที่ 10.2 เกณฑ์การจ�ำ กดั โซเดยี มตามความรนุ แรงของโรคความดนั โลหิตสูง

ความรุนแรงของโรค      ช่วงความดนั โลหติ      ระดบั จำ�กัดโซเดียมต่อวนั *  คดิ เทยี บเทา่ เกลอื และนํ้าปลา
                       (มลิ ลเิ มตรปรอท)     mEq มิลลกิ รัม
                   diastolic systolic                                     เกลอื ปน่ **          นาํ้ ปลาแท้**

High Normal        85-89   140-159           90-120  2070-2760*           5.2-6.9 กรัม          1-1¼ ช้อนโต๊ะ
ระดับ Border line  90      140-160                                        1-1 ¼ ช้อนชา
Mild Definite      90-104  160-169           90      2 ,070               1.2 กรัม หรือ         1 ช้อนโต๊ะ
Hypertension                                                              1 ช้อนชา
Moderate           105-114 เกิน 200          60-90   1,380-2,070          3/5 ช้อนชา- 1 ช้อนชา  3/5 ช้อนโต๊ะ-
                                                                                                1 ช้อนโต๊ะ
Severe             115 ขึ้นไป เกิน 200       60      1,380*               3/5 ช้อนชา            3/5 ช้อนชา
ปริมาณที่คนปกติ    ตํ่ากว่า 90 ตํ่ากว่า 140  48-114  1,000-3,300
ได้รับ

*หมายเหต:ุ 	 1. 	ช ่วงของการจำ�กัดโซเดียมในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงคือ 1,380*-2,760* มิลลิกรัมต่อวัน นับได้ว่าอยู่ในช่วงที่
            คนเราควรได้รับนั่นเอง จึงไม่เสี่ยงต่อการขาดธาตุนี้

	 2. 	ปริมาณโซเดียมที่จำ�กัดนั้นสามารถจัดอาหารหลักให้มีปริมาณเพียงพอที่จะให้พลังงานและสารอาหารทุกชนิด
            ไดค้ รบถ้วนตามความตอ้ งการทางโภชนาการของผู้ปว่ ยได้อย่างเตม็ ที่ จงึ ไมม่ ีปัญหาเรื่องความเพยี งพอในดา้ น
            โภชนาการ

	 3. 	ป รมิ าณโซเดยี มทีจ่ ำ�กดั ใหไ้ ดร้ บั ทัง้ วนั รวมทัง้ โซเดยี มในอาหารหลกั และเครือ่ งปรงุ รสอืน่ ๆ มใิ ชเ่ ฉพาะในเครือ่ ง
            ปรุงรสเท่านั้น ฉะนั้นเมื่อจะปรุงรสย่อมใช้เกลือหรือนํ้าปลาได้น้อยกว่าปริมาณที่คิดเทียบไว้** โดยคิดหัก
            ปริมาณโซเดียมในอาหารหลักแต่ละวันออกก่อน แล้วจึงคำ�นวณเทียบเป็นนํ้าหนักของเกลือ (และนํ้าปลา)

4. 	ระดับการจ�ำ กดั โซเดยี มตามความรุนแรงของโรคความดนั โลหิตสงู

       แพทย์อาจสั่งจำ�กัดโซเดียมตามระดับความรุนแรง* ของโรคตามที่แสดงไว้ในตารางที่ 10.2 ซึ่งแบ่งได้ 4
ระดับดังนั้น

       4.1 	ความดนั โลหติ อยใู่ นเกณฑส์ งู ของระดบั ทถี่ อื วา่ ปกติ (high normal) คอื ผูท้ ีม่ คี วามดนั ไดแอสโตลกิ 85-89
มิลลิเมตรของปรอท ผู้ที่มีความดันซิสโตลิก 140-159 มิลลิเมตรของปรอท ควรจำ�กัดโซเดียม วันละ 90-120 มิลลิ-	
อีควิวาเลนต์ (mEq) หรือ 2,070 -2,760 มิลลิกรัม

       4.2 	ความดนั โลหติ สงู อยใู่ นเกณฑผ์ ดิ ปกตริ ะดบั ปานกลาง คอื ผูท้ ีม่ คี วามดนั ไดแอสโตลกิ 105-114 มลิ ลเิ มตร
ของปรอทและ/หรือผู้ที่มีความดันซิสโตลิก 160-169 มิลลิเมตรของปรอท ควรจำ�กัดโซเดียม วันละ 90 มิลลิ-	
อิควิวาเลนต์ (mEq) หรือ 2,070 มิลลิกรัม

       4.3 	ความดนั โลหติ สงู อยใู่ นเกณฑผ์ ิดปกติเพยี งเลก็ น้อย คือ ผู้ที่มีความดันไดแอสโตลิก 90-104 มิลลิเมตร
ของปรอทและ/หรือผู้ที่มีความดันซิสโตลิก 160-169 มิลลิเมตรของปรอท ควรจำ�กัดโซเดียมวันละ 60-90 มิลลิ-	
อีควิวาเลนต์ (mEq) หรือ 1,380-2,070 มิลลิกรัม

       4.4 	ความดันโลหิตสงู อยู่ในเกณฑ์ผิดปกตริ ะดับรนุ แรง คือ ผู้ที่มีความดันไดแอสโตลิก 115 มิลลิเมตรของ
ปรอทขึ้นไปและ/หรือผู้ที่มีความดันซิสโตลิกสูงกว่า 200 มิลลิเมตรของปรอท ควรจำ�กัดโซเดียม วันละ 60 มิลลิ-	
อีควิวาเลนต์ (mEq) หรือ 1,380 มิลลิกรัมหรือน้อยกว่านี้ถ้าเป็นไปได้

*หมายเหตุ: เกณฑ์ความรุนแรงของโรคตามที่กล่าวถึงนี้ใช้ได้กับบุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป

                           ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170