Page 38 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 38
2-36 อาหารและโภชนบำบัด
หากบริโภคน้ำตาล 6 ช้อนช า จะได้พลังงานจากน ้ำตาล = 6 × 20 = 120 กิโลแคลอรี สามารถน ำส ่วนของ
น้ำตาลไปรวมในปริมาณคาร์โบไฮเดรต และพลังงานที่ได้จากน้ำตาล ดังนั้น จะทำให้ส่วนของหมวดอาหารอื่นลดลง
เช่น ส่วนข องข้าวจะล ดลง แทนที่จ ะก ินข ้าว 9 ส่วน อาจล ดลงเหลือ 7 ส่วน เป็นต้น
2.4 การแ บ่งม ื้ออ าหาร การค ำนวณเพื่อก ำหนดส ่วนข องอ าหารเป็นห ลักก ารท างค ณิตศาสตร์ท ี่จ ะท ำให้ท ราบ
ว่าจะต้องรับประทานอาหารในแต่ละหมวด ปริมาณมากน้อยเท่าใด จึงจะได้พลังงานและสารอาหารครบถ้วนตามที่
แพทย์ก ำหนด แต่หลายครั้งเมื่อน ำม าปฏิบัติไม่ส ามารถบ รรลุว ัตถุประสงค์ได้ เช่น กำหนดอ าหารในหมวดธ ัญพืชมาก
เกินไป ผู้ป่วยรับประทานไม่หมด เนื้อส ัตว์น้อยเกินไป อาหารท ี่เตรียมอ อกมาไม่น่าร ับป ระทาน หรือกำหนดอ าหารใน
หมวดน้ำนม แต่ผู้ป ่วยไม่ด ื่มน ม เป็นต้น ดังนั้น ในการคำนวณจึงต ้องพ ิจารณาถึงหลักค วามเป็นจริงในช ีวิตป ระจำว ัน
วิธีก ารป ฏิบัติแ ละก ารย อมรับข องผ ูป้ ่วยด ้วยว ่าจ ะเป็นไปไดส้ ักเพียงใด และพ ยายามต ิดตามก ารร ับป ระทานอ าหารข อง
ผู้ป่วย รวมทั้งแก้ไขปรับปรุงการกำหนดส่วนของอาหารใหม่ อาจจะเพิ่มหรือลดอาหารหมวดใดหมวดหนึ่งตามความ
เหมาะส ม ที่จ ะช ่วยให้ผ ู้ป ่วยส ามารถรับประทานอาหารได้หมด
ส่วนข องอ าหารแ ต่ละห มวดท ี่ค ำนวณได้น ี้เป็นส ่วนข องอ าหารท ี่จ ะต ้องร ับป ระทานท ั้งว ัน ดังน ั้น จึงจ ำเป็นต ้อง
นำส ่วนอ าหารน ี้ม าแ บ่งเป็นม ื้อๆ เพื่อให้ท ราบว ่าแ ต่ละม ื้อจ ะร ับป ระทานอ าหารห มวดใดม ากน ้อยเท่าใด ตามจ ำนวนม ื้อ
ที่ผู้ป่วยต ้องการ เช่น แบ่งเป็น 3 มื้อ หรือ 4 มื้อ ดังตารางท ี่ 2.20
ตารางท ่ี 2.20 การแบง่ มื้ออ าหาร 3 มอื้ จ ากร ายการอาหารแลกเปล่ียน
หมวดอาหาร ส่วนอาหาร มอ้ื อาหารตามส่วนอาหาร รวมสว่ นอาหาร
แตล่ ะหมวด เช้า เท่ยี ง เย็น แตล่ ะหมวดทงั้ วัน
นม 1--
ผัก 1 222 1
ผลไม้ 6 111 6
ข้าว แป้ง 3 243 3
เนื้อสัตว์ 9 1 1.5 1.5 9
ไขมัน 4 233 4
8 8
ในก รณีท ี่ผ ู้ป ่วยร ับประทานอ าหารไม่หมดตามท ี่ก ำหนด หรือผ ู้ป่วยเคยชินต ่อการรับประทานอ าหารวันล ะ 4
มื้อ ก็สามารถแ บ่งส่วนอ าหารให้มากกว่า 3 มื้อ เพื่อให้ผู้ป่วยส ามารถบ ริโภคอ าหารได้ห มดห รือแ บ่งตามบ ริโภคน ิสัย
ของผ ู้ป ่วยได้ ดังต ารางที่ 2.21
ลขิ สิทธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช