Page 49 - อาหารและโภชนบำบัด
P. 49

รายการอาหารแลกเปลี่ยน 2-47

       อาหารจ​ ำพวกข​ ้าว แป้ง เผือก มัน ถั่วเ​มล็ดแ​ ห้งต​ ่างๆ เส้นก​ ๋วยเตี๋ยว บะหมี่ ขนมปัง หรือม​ ักกะโ​รน​ ี ลดอ​ าหารท​ ี​่
มีไ​ขม​ ันส​ ูง เช่น เนื้อส​ ัตว์ต​ ิด​หนัง ติดม​ ัน อาหาร​ทอด กะทิ เนย และ​มาย​ อง​เนส ผัก​ประเภทห​ ัว ที่​มีป​ ริมาณแ​ ป้งม​ าก เช่น
ฟักทอง หัว​ผักก​ าด หัวปลี ถั่วงอกห​ ัวโ​ต ผล​ไม้ท​ ี่ม​ ี​รส​หวานป​ านก​ ลาง เช่น ส้ม เงาะ แตงโม มะละกอ กล้วย เป็นต้น

       กลุ่ม​ที่ 3 สามารถ​รับ​ประทาน​ได้​ใน​ปริมาณ​มาก ได้แก่ ผัก​ทุก​ชนิด ยกเว้น​ผัก​ที่​อยู่​ใน​หมวด ข สัดส่วน​การ
กร​ ะ​จายพ​ ลังงาน​จำเป็น​ใน​การว​ างแผนใ​ห้​เหมาะ​สม​กับผ​ ู้ท​ ี่​เป็นเ​บาห​ วานแ​ ต่ละบ​ ุคคล

              ตารางท​ ่ี 2.23 ข้อแ​ นะนำใ​น​การ​จัด​อาหาร​ใน​ผป​ู้ ่วย​เบา​หวาน

 สารอาหาร     ปริมาณ (%)                             ข้อแนะนำ
คาร์โบไฮเดรต    45-55
                          ผู้ป่วยเบาหวานควรเน้นกินอาหารจำพวกธัญพืชไม่ขัดสี เช่น ข้าวกล้อง แป้ง และ
โปรตีน          15-20     ผลไม้ สำหรับผู้ที่เป็นเบาหวานและมีโรคไตร่วมด้วย ควรเลือกข้าวเจ้า และ
                          ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากข้าวเจ้า โดยเป็นข้าวขาว และไม่ควรทานข้าวไม่ขัดสี เช่น
ไขมัน           20-30     ข้าวกล้อง เมื่อมีปริมาณโซเดียม และฟอสฟอรัสสูง ปริมาณใยอาหาร 20-30 กรัม

                          ผู้ป่วยเบาหวานได้รับทั้งโปรตีนจากพืชและสัตว์ กรณีผู้ที่เป็นเบาหวานและมี
                          โรคไตร่วมด้วยควรจำกัดปริมาณโปรตีนน้อยกว่าร้อยละ 10 ของพลังงานรวม
                          หรือ 0.4-0.6 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวัน สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้ล้างไต
                          และ 1-1-.2 กรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัมต่อวันสำหรับผู้ที่ล้างไตโดยใช้
                          เครื่องฟอกไตเทียม และเน้นโปรตีนจากสัตว์มากกว่า 50-60%

                          ผู้ป่วยเบาหวานควรหลีกเลี่ยงไขมันทรานซ์ (ไขมันที่แปลสภาพจากของเหลวเป็น
                          ของแข็ง เช่น เนยเทียม) ควรบริโภคไขมันอิ่มตัวน้อยกว่า 7% กรดไขมันไม่อิ่มตัว
                          หลายตำแหน่ง 10% จากพลังงานรวม กรดไขมันไม่อิ่มตัวตำแหน่งเดียว 20%
                          โคเลสเตอรอลน้อยกว่า 300 มิลลิกรัมหรือน้อยกว่า 200 มิลลิกรัมในผู้ที่
                          โคเลสเตอรอลในเลือดสูง

       กรดไ​ ขม​ ันอ​ ิ่มต​ ัว มผี​ ลใ​นก​ ารเ​พิ่มโ​คเลสเตอรอล​ในเ​ลือด ทำใหเ้​พิ่มค​ วามเ​สี่ยงต​ ่อก​ ารเ​กิดโ​รคห​ ัวใจ ไขม​ ันช​ นิด​
นี้มีม​ ากใ​นไ​ขม​ ันจ​ ากส​ ัตว์ นมท​ ี่ม​ ีไ​ขม​ ันเ​ต็มส​ ่วน กะทิ ซึ่งผ​ ู้ท​ ี่เ​ป็นโ​รคเ​บาห​ วาน จะม​ ีค​ วามเ​สี่ยงต​ ่อก​ ารม​ ีโ​คเลสเตอรอลใ​น​
เลือด​สูง​มากกว่า​ผู้ท​ ี่ไ​ม่​เป็น​โรค​เบา​หวาน

       กรด​ไข​มัน​ไม่​อิ่ม​ตัว​หลาย​ตำแหน่ง มี​ผล​ใน​การ​ลด​โคเลสเตอรอล​รวม​ทั้ง HDL-C (โคเลสเตอรอล​ชนิด​ดี)
และ LDL-C (โคเลสเตอรอล​ชนิด​ไม่ดี) กรด​ไข​มัน​ไม่​อิ่ม​ตัว​หลาย​ตำแหน่ง​พบ​มาก​ใน​ไข​มัน​ที่​ได้​จาก​พืช เช่น น้ำมัน
​ถั่ว​เหลือง น้ำมันด​ อก​ทานตะวัน

       กรดไ​ ขม​ นั ไ​ มอ​่ ิม่ ต​ วั ต​ ำแหนง่ เ​ดยี ว มผ​ี ลใ​นก​ ารล​ ดโ​คเลสเตอรอลร​ วมแ​ ละ LDL-C (โคเลสเตอรอลชนดิ ไมด่ )ี แต​่
ไม่​ลด HDL-C (โคเลสเตอรอลชนิดดี) กรดไ​ข​มันไ​ม่​อิ่ม​ตัวต​ ำแหน่ง​เดียว​พบม​ าก​ในน​ ้ำมัน​มะกอก น้ำมันร​ ำ​ข้าว น้ำมัน​
ถั่วล​ ิสง และ​ถั่ว​เปลื​อกแ​ ข็ง

6. 	การ​จดั อ​ าหาร​ใน​ระดบั ​พลงั งานแ​ ละส​ มดลุ พ​ ลงั งานท​ กี่​ ำหนด

       การจ​ ัดส​ ัดส่วนอ​ าหารส​ ามารถเ​ปลี่ยนแปลงไ​ด้ต​ ามบ​ ริโภคน​ ิสัยแ​ ต่ร​ วมพ​ ลังงานจ​ ากอ​ าหาร 5 หมู่ แล้วต​ ้องเ​ป็น​
ไป​ตามท​ ี่ก​ ำหนด ตัวอย่างต​ ่อไ​ป​นี้เ​ป็นการ​แบ่งส​ ัดส่วน​โดย​ไม่​ดื่ม​นม

                          ลิขสิทธิ์ของมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54