Page 206 - การผลิตสัตว์
P. 206

12-34 การผลิตสัตว์

       2.4 		การ​ขยาย​พันธสุ์​ ัตว์ การข​ ยาย​พันธุ์​สัตว์​มี​ข้อ​กำหนด​และข​ ้อ​ห้าม​ไว้ ดังนี้
            1) 	ให้ใ​ช้ว​ ิธีผ​ สม​ตาม​ธรรมชาติ หากม​ ี​ความจ​ ำเป็นใ​ห้​ใช้​วิธี​การ​ผสมเทียมไ​ด้
            2)		ห้าม​ใช้​วิธีก​ ารย​ ้ายฝ​ ากตัวอ​ ่อน​และ​ฮอร์โมน​ในก​ าร​ขยาย​พันธุ์​สัตว์
            3) 	ห้ามใ​ช้​วิธีท​ าง​พันธุว​ ิศวกรรม​ใน​การด​ ัด​แปรพ​ ันธุกรรม​สัตว์

       2.5 		การ​ผ่าตัด​หรือ​การ​จัดการ​บาง​อย่าง​กับ​ร่างกาย​สัตว์ ใน​การ​เลี้ยง​สัตว์​ระบบ​อินทรีย์​โดย​ทั่วไป​ไม่​อนุญาต
ใ​ห้​มีก​ าร​ผ่าตัดห​ รือจ​ ัดการ​บางอ​ ย่างก​ ับ​ร่างกายส​ ัตว์ ยกเว้น ในก​ รณี​ที่จ​ ำเป็นแ​ ละไ​ม่มี​วิธี​อื่น​ที่​เหมาะส​ ม ดังต​ ่อ​ไป​นี้

            1) 	เพื่อ​ป้องกัน​การ​ต่อสู้ หรือ​เพื่อ​สวัสดิภาพ​ของ​สัตว์​หรือ​มนุษย์ เช่น การ​ติด​เบอร์​หู ห้าม​ใช้​การ
ป​ ระทับต​ ราด​ ้วยค​ วาม​ร้อน

            2) 	เพื่อส​ ุขภาพ​สัตว์ เช่น การร​ ัดห​ างแ​ กะ
       2.6 		โรง​เรือน​และ​การ​เลี้ยง​ปล่อย โรง​เรือน​และ​วิธี​การ​เลี้ยง​ปล่อย​ของ​ปศุสัตว์​อินทรีย์ มี​ข้อ​กำหนด​ที่​เป็น​
หลักส​ ำคัญๆ ไว้ ดังนี้

            1)	 	โรง​เรือน​เลี้ยง​สัตว์​อินทรีย์​ต้อง​มี​สภาพ​ของ​โรง​เรือน​เหมาะ​สม​กับ​ภูมิ​อากาศ​และ​พฤติกรรม​ของ​
สัตว์​ โดยล​ ักษณะ​ภายใน​โรง​เรือนต​ ้องใ​ห้​สัตว์ส​ ามารถ​เข้าถ​ ึง​น้ำ​และอ​ าหารไ​ด้ง​ ่าย ตัวโ​รงเ​รือน​สามารถกันแดด สะอาด
มี​แสง​สว่าง และ​มีการ​ระบาย​อากาศ​ตาม​ธรรมชาติ​อย่าง​เพียง​พอ​เพื่อ​ให้​สัตว์​อยู่​สบาย ขนาด​ของ​พื้นที่​ใน​โรง​เรือน
​เลี้ยง​สัตว์​ต้อง​ให้​สัตว์​ได้​อยู่​สบาย มี​พื้นที่​เพียง​พอ​ให้​สัตว์​เคลื่อนไหว​ตาม​ธรรมชาติ ให้​เหมาะ​สม​กับ​ชนิด พันธุ์ เพศ
ขนาดข​ องฝ​ ูง สภาพ และ​อายุข​ อง​สัตว์

            2) 	โรง​เรือน คอก อุปกรณ์ และ​สิ่ง​อำนวย​ความ​สะดวก​ต่างๆ ต้อง​ทำความ​สะอาด​และ​หรือ​ฆ่า​เชื้อ​
ตามค​ วามเ​หมาะส​ ม เพื่อป​ ้องกันก​ าร​ปนเ​ปื้อนแ​ ละ​การส​ ะสม​ของเ​ชื้อ​ก่อ​โรค

            3) 	สัตว์​เคี้ยว​เอื้อง​ต้อง​ได้​รับ​การ​ปล่อย​เลี้ยง​ใน​แปลง​หญ้า สัตว์​อื่น​ต้อง​ได้​รับ​การ​ปล่อย​ใน​พื้นที่​
กลาง​แจ้ง​เมื่อ​อากาศอำนวย ยกเว้น​ใน​กรณี​อากาศ​เลว​ร้าย เช่น ร้อน​จัด หนาว​จัด หรือ​เพื่อ​ป้องกัน​ไม่​ให้​สัตว์​ทำลาย​
แหล่ง​น้ำ หรือ​แปลง​หญ้า​ที่​ยัง​ไม่​สมบูรณ์ กรณี​ดัง​กล่าว​อาจ​ต้อง​ให้​สัตว์​อยู่​ภายใน​โรง​เรือน​ชั่วคราว​แต่​ต้อง​มี​พื้นที่​
เพียง​พอ​ต่อก​ าร​เคลื่อนไหว

            4) 	การเ​ลี้ยงป​ ล่อยใ​นพ​ ื้นที่เ​ปิด จะต​ ้องม​ ีท​ ี่ก​ ันแดดแ​ ละฝ​ น หรือป​ ้องกันค​ วามแ​ ปรปรวนข​ องภ​ ูมิอ​ ากาศ​
อย่างเ​หมาะส​ ม​และ​เพียงพ​ อ

            5) 	การ​เลี้ยง​ปศุสัตว์​แบบ​ไล่​ต้อน​หรือ​ใน​พื้นที่​ป่า​หรือ​พื้นที่​สาธารณะ พื้น​ที่​นั้นๆ ต้อง​ไม่​ใช้​สาร​เคมี​มา​
อย่าง​น้อย 3 ปี และ​ความ​หนา​แน่น​ของ​สัตว์​ต้อง​ไม่​ทำลาย​สิ่ง​แวดล้อม หาก​มี​ปศุสัตว์​ที่​ไม่​ขอ​การ​รับรอง​อยู่​ใน​พื้นที่​
เดียวกันจ​ ะต​ ้อง​ได้​รับก​ าร​ตรวจ​สอบ​และ​เห็น​ชอบ​จากห​ น่วยต​ รวจร​ ับรองก​ ่อน

            6) 	กรณี​การ​เลี้ยง​ปศุสัตว์​ฝูง​เล็ก​ของ​เกษตรกร​ราย​ย่อย เช่น การ​เลี้ยง​พ่อ​พันธุ์​สามารถ​แยก​ขัง​เดี่ยว​
ตาม​ความจ​ ำเป็นไ​ด้

            7) 	พื้นโ​รงเ​รือน​เลี้ยงส​ ัตว์เ​ลี้ยงล​ ูก​ด้วยน​ ม​จะ​ต้อง​เรียบ ไม่ล​ ื่น ปลอดภัย​สำหรับส​ ัตว์ ไม่​เป็นพ​ ื้นส​ ​แลต​
ทั้งหมด พื้น​จะ​ต้อง​แห้ง สะอาด สำหรับ​ให้​สัตว์​พัก​นอน​ที่​เหมาะ​สม​กับ​ขนาด​ของ​สัตว์​  และ​เป็น​สิ่ง​ก่อสร้าง​ที่​แข็ง​แรง
วัสดุ​รองพ​ ื้นที่​ใช้ต​ ้อง​เพียง​พอแ​ ละ​สะอาด

            8) 	ห้าม​ใช้ค​ อกข​ ังเ​ดี่ยวห​ รือ​การผ​ ูก​โรงส​ ำหรับโ​รงเ​รือน​ลูก​โค
            9) 	เลี้ยงแ​ ม่ส​ ุกร​ให้​อยู่ร​ วม​กัน​เป็นกล​ ุ่ม ยกเว้นใ​น​ระยะท​ ้ายข​ อง​การ​ตั้งท​ ้อง และ​ระยะ​ให้​นม
            10) 	ห้ามเ​ลี้ยงก​ ระต่าย​โดย​ขัง​กรง
            11) 	ห้ามเ​ลี้ยงส​ ัตว์​ปีก​ในก​ รงต​ ับ

                             ลขิ สิทธิ์ของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
   201   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211