Page 31 - การผลิตสัตว์
P. 31
การผลิตโคเนื้อและกระบือ 8-29
2.2 เพศโค การเลือกซื้อโคเข้ามาขุนจะต้องพิจารณาถ ึงเพศของโคด ้วย ซึ่งโคแ ต่ละเพศจะม ีข้อดีข้อเสียแตก
ต่างกัน ดังนี้
- โคเพศเมียเมื่อนำมาขุนจะเจริญเติบโตช้ากว่าโคเพศผู้ ให้เปอร์เซ็นต์ซากต่ำกว่าโคเพศผู้ และจะ
สามารถนำมาขุนได้เมื่อได้รับการรับรองจากสัตวแพทย์ว่าไม่สามารถให้ลูกโคได้ (เป็นหมัน) เนื่องจากประเทศไทย
ม ีก ฎหมายห้ามฆ ่าโคเพศเมีย
- โคเพศผ ู้ม ีการเจริญเติบโตและเปอร์เซ็นต์ซากหลังช ำแหละส ูงกว่าโคเพศเมีย
- โคเพศผู้ไม่ตอนจะมีอัตราการเจริญเติบโตเร็วกว่าและมีประสิทธิภาพการให้อาหารสูงกว่าโคเพศ-
ผู้ตอน แต่มีการสะสมไขมันต่ำกว่า เหมาะสำหรับตลาดเนื้อทำลูกชิ้นและตลาดผู้บริโภคที่นับถือศาสนาอิสลาม เช่น
ตลาดมาเลเซีย เป็นต้น
- โคเพศผู้ตอนจะมีไขมันแทรกดีกว่าโคเพศผู้ไม่ตอน เหมาะสำหรับตลาดเนื้อชั้นสูงที่ต้องการไขมัน
แทรกเนื้อ หรือตลาดโคม ันท ั่วไป
- โคเพศผ ู้ต อนจ ะล ดค วามค ึกค ะนองข องโคลงได้ ลดก ารร ังแกต ัวอ ื่นล งไปได้ เหมาะสำหรับเลี้ยงแ บบ
ขังรวมใ นคอก
2.3 อายุข องโค อายุโคท ี่น ำเข้าข ุนม ีผ ลต ่อค ุณภาพข องเนื้อโคท ี่ได้เมื่อข ุนเสร็จแ ละก ารใช้ร ะยะเวลาในก ารข ุน
โคอายุมากจะให้เนื้อโคที่ได้เมื่อขุนเสร็จ เหนียวกว่า ไขมันมีสีเหลืองกว่า และมีกลิ่นเนื้อแรงกว่าโค
อายุน้อย หรือโคอายุน้อยจะให้เนื้อคุณภาพดีกว่า นุ่ม ไม่เหนียว กลิ่นไม่แรง นอกจากนี้บางประเทศกำหนดให้อายุ
โคเมื่อขุนเสร็จไม่เกิน 24 เดือนเพราะป้องกันโรควัวบ้า เนื่องจากโรคดังกล่าวจะเกิดการฟักตัวเมื่อโคได้รับสารก่อ
โรควัวบ้า ประมาณ 2-8 ปีจึงจะแสดงอาการ ดังนั้น การขุนโคที่มีอายุน้อยจึงเหมาะสำหรับขุนส่งตลาดชั้นสูงหรือ
ต ลาดต่างประเทศ ส่วนโคอายุมากเหมาะสำหรับข ุนส่งจ ำหน่ายต ลาดท ั่วไป
อายุของโคที่เข้าขุนมีความสัมพันธ์กับระยะเวลาขุนกล่าวคือ ถ้าขุนโคอายุน้อยต้องใช้เวลามากกว่า
การขุนโคใหญ่ เช่น โคหย่านม ใช้เวลาขุนประมาณ 10 เดือน โคอายุ 1 ปี ใช้เวลาประมาณ 8 เดือน โคอายุ 1.5 ปี
ใช้เวลาขุนป ระมาณ 6 เดือน โคอายุ 2 ปี ใช้เวลาข ุนประมาณ 4 เดือน โคเต็มว ัยใช้เวลาข ุนประมาณ 3 เดือน เป็นต้น
2.4 สภาพรา่ งกายข องโค โคท น่ี ำเข้าม าข นุ ม ีสภาพร ่างกายแข็งแรง มีสุขภาพดี ไมเ่ป็นโรค และไมแ่ คระ แ กร็น
อย่างไรก็ตาม หากจะข ุนโคท ี่ม ีอายุป ระมาณ 2 ปี สภาพร่างกายข องโคที่น ำเข้าม าข ุนจ ะมีค วามแ ตกต ่างก ัน โดยพบว่า
โคท ี่อ ้วนม ากเมื่อนำม าขุนจะม ีอัตราก ารเจริญเติบโตช ้าก ว่าโคที่ผ อม ในทางก ลับกัน โคที่ผอมเนื่องจากข าดอ าหารม า
ระย ะห นึ่งแ ตไ่มถ่ งึ ก บั แ คระแ กรน็ ห รอื ไมเ่ป็นโรค เมื่อน ำม าข นุ จ ะม อี ัตราก ารเจรญิ เตบิ โตส ูงก ว่าโคอ ว้ น การเจริญเตบิ โต
ที่ร วดเร็วนี้เรียกว่า “การเจริญเติบโตชดเชย” แต่ทั้งนี้ต้องเป็นโคที่มีส ุขภาพดี ไม่เป็นโรค หรือแคระแกร็น เท่านั้น
3. แหล่งท จี่ ะห าซ้ือโคม าข นุ
แหล่งที่มาข องโคที่จ ะนำม าขุนนั้นม ีหลายแ หล่ง พอสรุปได้ดังนี้
3.1 เลี้ยงพ่อแ ม่พันธุ์ผลิตลูก เพื่อนำมาขุนเองภ ายในฟ าร์ม ซึ่งจะต ้องมีจำนวนพ ่อแม่พันธุ์มาก
3.2 ซื้อล ูกโคจ ากผ ูผ้ ลิตล ูกโคข ายโดยตรง โดยเกษตรกรจ ะท ำฟ าร์มพ ่อแ มพ่ ันธุเ์พื่อผ ลิตล ูกข ายโดยตรง หรือ
อาจเป็นในล ักษณะรวมก ลุ่มเลี้ยงโคเนื้อแล้วน ำลูกโคที่ได้มาจำหน่ายให้ผู้เลี้ยงโคขุน
3.3 ซื้อโคจากตลาดนัดโค-กระบือ ซึ่งเป็นตลาดที่มีมากที่สุด และมีกระจายอยู่เกือบทุกพื้นที่ตามภูมิภาค
ต่างๆ
ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช