Page 61 - การผลิตสัตว์
P. 61
การผลิตสุกร 9-11
หลังโค้งพองามรับ บั้นท้ายไม่เทลาดมาก
กับสะเอวและไหล่ และรับกับสะโพก
ไหล่เทลาดรับกับส่วนคอและส่วนหลัง สะโพกโตเต็มตึง
ลำ�สตะัวเอโคว้งแลลึกะรไหับลก่ับ กลมรับด้านข้างและบั้นท้าย
หน้าตามลักษณะพันธุ์ ขาตั้งตรง
ไม่โตหรือเล็กเกินไป ไม่สั้นหรือ
ยาวเกินไป
ทีม่ า: ภรณี ต่างวิวัฒน์ (2538) ภาพที่ 9.8 ลกั ษณะสุกรประเภทเนื้อทีด่ ี
1.1.2 สกุ รประเภทพนั ธเุ์ บคอน จะใหค้ วามสำ�คญั เรือ่ งความลกึ ของลำ�ตวั เพราะเปน็ สว่ นทีใ่ หเ้ นือ้ เบคอน
ความลึกจะต้องสมํ่าเสมอตั้งแต่ท่อนหน้าจนถึงท่อนท้ายลำ�ตัว โดยเฉพาะส่วนหลังและเอวกลมและแน่น ใต้พื้นท้อง
เรียบไม่หย่อนยาน ไหล่กว้าง ต้องมีสะโพกใหญ่ ลำ�ตัวลึก ขาทั้งสี่ต้องตั้งตรงและแข็งแรง อวัยวะสืบพันธุ์ไม่ผิดปกติ
และมีหัวนมที่ดี 14 หัวขึ้นไป
สะเอวกว้างรับกับ หลังเป็นเส้นตรง ไหล่รับกับส่วนคอและหลัง
บั้นท้ายและหลัง โค้งเล็กน้อย
หน้าตามลักษณะพันธุ์
หางตั้งอยู่ระดับสูงช่วย ลำ�ตัวลึกพอสมควร ไม่โตหรือเล็กเกินไป
ให้สะโพกมีขนาดโต
พื้นท้องขนานกับพื้น
สะโพกโตเต็มตึงกลมรับ เต้านมวางเป็นระเบียบ
กับส่วนข้างและบั้นท้าย
ขาตั้งตรงและแข็งแรง ไม่ระยะกันมีไม่
ตํ่ากว่า 14 เต้า
ข้อเท้าแข็งแรงไม่พับ
ท่มี า: ภรณี ต่างวิวัฒน์ (2538) ภาพที่ 9.9 ลักษณะสกุ รประเภทเบคอนท่ดี ี
การคัดเลือกสุกรจากลักษณะภายนอก มีหลักในการปฏิบัติ ดังนี้
1) ยืนห่างสุกรพอสมควร ให้มองเห็นสุกรได้ชัดเจนทั้งตัว
2) พิจารณาลักษณะต่างๆ ของสุกรให้ครบ เช่น ขนาดและนํ้าหนัก ความสัมพันธ์กันของขนาด
กับอายุ รูปร่าง ความยาวและความตรงของขา สันหลัง เอว บั้นท้าย อวัยวะเพศ เป็นต้น โดยพิจารณาทั้งด้านหน้า
ด้านข้าง และด้านหลังของสุกร มีการไล่ให้สุกรเปลี่ยนท่าทางหรือไล่ให้สุกรเดิน เพื่อพิจารณาลักษณะการยืนและ
การเดินของสุกร
3) ใช้มือจับต้องหรือลูบคลำ�ตัวสุกร เพื่อสัมผัสสิ่งผิดปกติที่เห็นไม่ชัด เช่น รอยแผลเป็น เป็นต้น
4) บางลักษณะไม่สามารถเห็นได้ชัดเจน จะต้องเข้าไปยืนพิจารณาอย่างใกล้ชิด เช่น ลักษณะ
ของหัวนม เป็นต้น
ลิขสทิ ธขิ์ องมหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช