Page 200 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 200
11-36 ระบบสำนักงานอ ัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
• ศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ เป็นจุดให้บริการท่ีรวบรวมผู้ให้บริการหลายบริการไว้ ณ จุดเดียว
เพอื่ ร องรบั ค วามต อ้ งการในห ลายๆ ดา้ น สำหรบั บ รกิ ารท ม่ี คี วามเกยี่ วเนอื่ งก นั และม คี วามจ ำเปน็ ท ตี่ อ้ งการค วามร ู้
ความช ำนาญในการบรกิ ารอ ย่างดี
• ศูนย์บริการร่วมแบบเช่ือมโยงบริการ เป็นจุดให้บริการหลายประเภท โดยอาศัยวิธีการติดต่อ
ประสานง านร ะหว่างหนว่ ยงานให้สามารถเชื่อมโยงบ รกิ ารหลายบริการได้ ณ จดุ บ ริการเดียว
2. การบ รกิ ารแ บบเบด็ เสรจ็ คอื การใหบ้ รกิ ารท รี่ วบรวมผ ใู้ หบ้ รกิ ารห ลายบ รกิ ารไว้ ณ จดุ เดยี ว เพอื่ ร องรบั
ความต้องการในหลายๆ ด้าน ท่ีมีความเก่ียวเนื่องกัน และมีความจำเป็นที่ต้องการความรู้ความชำนาญใน
การบ รกิ ารอ ยา่ งด ี โดยม จี ดุ ป ระสงคเ์ พอ่ื เพมิ่ ป ระสทิ ธภิ าพในก ารใหบ้ รกิ ารแ กล่ กู คา้ ม คี วามส ะดวกแ ละร วดเรว็ ข นึ้
รปู แ บบของการให้บริการแ บบเบ็ดเสร็จ ประกอบด ้วย 4 รปู แบบ ได้แก่ 1) การนำหลายห นว่ ยงาน
มารวมให้บริการอยู่ในสถานที่เดียวกัน 2) การกระจายอำนาจมาให้หน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งทำหน้าท่ีให้
บริการแบบเบ็ดเสร็จ 3) การปรบั ปรุงแ ละอ อกแบบใหมใ่ นการใหบ้ ริการ และ 4) การส ามารถให้บริการผ ่านทาง
อนิ เทอรเ์ นต็ ได้เสรจ็ ทันที
เรอ่ื งท่ี 11.3.2
ตัวอย่างก ารบ รกิ ารแบบเบด็ เสร็จ
ในที่นี้จะขอยกตัวอย่างการบริการแบบเบ็ดเสร็จในภาครัฐ คือ รัฐอิเล็กทรอนิกส์ และตัวอย่างการบริการ
แ บบเบ็ดเสร็จในภาคเอกชนของบริษัท สยามดอยซ์อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด
1. ตัวอยา่ งก ารบ รกิ ารแบบเบด็ เสรจ็ ในภาครัฐ : รฐั อเิ ล็กทรอนิกส์
สำหรับประเทศไทยการบริหารและการบริการของรัฐแก่ประชาชน มีการกล่าวถึงในกฎหมายสูงสุดของ
ประเทศ คือ รัฐธรรมนูญ ว่าเป็นการน ำไอทีมาใช้เพื่อเชื่อมโยงระหว่างห น่วยง านข องรัฐกับภ าคเอกชน เพื่อการบ ริหาร
และการบริการที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ในแผนไอทีแห่งชาติยังระบุว่าหน่วยงานของรัฐต้องลงทุนให้พร้อม
ด้วยไอทีและบุคลากรที่มีศักยภาพในการใช้ไอที และในแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐก็ได้กำหนดกิจกรรมที่ทุก
ส่วนราชการต้องดำเนินการไว้ในแผนหลักเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารของภาครัฐว่า
การพัฒนาให้มีระบบสารสนเทศของหน่วยงานกลางในภาครัฐ ตลอดจนนำเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสมมาใช้เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐและการให้บริการแก่ประชาชน จะเห็นว่าในระดับนโยบายนั้นมีการให้ความ
สำคัญในเรื่องนี้ม าโดยต ลอด
ลขิ สิทธ์ิของมหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช