Page 201 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 201

การบ​ ริหารล​ ูกค้า​สัมพันธ์​และ​การบ​ ริการแ​ บบเ​บ็ดเสร็จ 11-37

       จากค​ วาม​สำคัญแ​ ละ​จำเป็น​ดัง​กล่าว จึงเ​กิดก​ าร​ทำ “รัฐ​อิเล็กทรอนิกส์” ซึ่ง​มี​รายล​ ะเอียด​ต่อไ​ปน​ ี้
       ความ​หมายข​ อง​รัฐ​อเิ ล็กทรอนิกส์
       รัฐอ​ ิเล็กทรอนิกส์ (e-Government) คือ การบ​ ริหารจ​ ัดการภ​ าคร​ ัฐส​ มัยใ​หมท่​ ีเ่​น้นก​ ารใ​ชเ้​ทคโนโลยสี​ ารสนเทศ​
และ​เครือ​ข่าย เพื่อ​เพิ่ม​ประสิทธิภาพ​การ​ทำงาน​ของ​ภาค​รัฐ และ​ปรับปรุง​การ​ให้​บริการ​แก่​ประชาชน (front office)
ทำให้​ประชาชน​มี​ส่วน​ร่วม​กับ​รัฐ​มาก​ขึ้น และ​เพื่อ​เพิ่ม​ศักยภาพ​ของ​การ​เข้า​ถึง​การ​ให้​บริการ​ของ​รัฐ (back office)
โดย​มุ่ง​เป้า​ไป​ที่​กลุ่ม​คน 3 กลุ่ม คือ ประชาชน ภาค​ธุรกิจ และ​ข้าราชการ​เอง ผลพลอยได้​ที่​สำคัญ​ที่​จะ​ได้​รับ คือ
ความ​โปร่งใส​ที่​ดี​ขึ้น ​อัน​เนื่อง​มาก​จาก​การ​เปิด​เผย​ข้อมูล​ที่​หวัง​ว่า​จะ​นำ​ไป​สู่​การ​ลด​คอร์รัป​ชัน และ​เป็น​แรงดึงดูด​และ​
จูงใจ​สำหรับนักล​ งทุนต​ ่างป​ ระเทศ ที่​ส่งผ​ ล​ต่อร​ ะบบเ​ศรษฐกิจ​โดย​รวม​ของป​ ระเทศ นั่นเอง
       รัฐอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด​ ้วย​หลัก​การท​ ี่เ​ป็น​แนวทาง 4 ประการ คือ
       1.	 สร้างบ​ ริการ​ตาม​ความต​ ้องการ​ของป​ ระชาชน
       2.	 ทำให้ร​ ัฐแ​ ละ​การ​บริการ​ของร​ ัฐเ​ข้าถ​ ึง​ได้​มากข​ ึ้น
       3.	 เกิดป​ ระโยชน์​แก่ส​ ังคมโ​ดย​ทั่ว​กัน
       4.	 มีก​ าร​ใช้​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​ที่ด​ ีก​ ว่าเ​ดิม
       นอกจากน​ ี้ รัฐอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ได้ม​ ีก​ าร​แบ่ง​กลุ่ม​ตามผ​ ู้รับ​บริการ ดังนี้
       1.	 รฐั กบั ประชาชน (Government to Citizen: G2C) เป็นการ​ให้บ​ ริการข​ องร​ ัฐส​ ู่ป​ ระชาชนโ​ดยตรง โดย
ที่​บริการ​ดัง​กล่าว​ประชาชน​จะ​สามารถ​ดำเนิน​ธุรกรรม​โดย​ผ่าน​เครือ​ข่าย​สารสนเทศ​ของ​รัฐ เช่น การ​ชำระ​ภาษี การ
​จด​ทะเบียน การ​จ่าย​ค่า​ปรับ การ​รับ​ฟัง​ความ​คิด​เห็น​ของ​ประชาชน การ​มี​ปฏิสัมพันธ์​ระหว่าง​ตัวแทน​ประชาชน​กับ​
ผู้​ลง​คะแนน​เสียง ​และ​การ​ค้นหา​ข้อมูล​ของ​รัฐ​ที่​ดำเนิน​การ​ให้​บริการ​ข้อมูล​ผ่าน​เว็บไซต์ เป็นต้น โดยที่​การ​ดำเนิน​การ​
ต่างๆ นั้น​จะต​ ้องเ​ป็นการ​ทำงานแ​ บบ Online และ Real Time มี​การร​ ับรอง​และ​การ​โต้ตอบท​ ี่​มี​ปฏิสัมพันธ์
       2.	 รฐั กบั เอกชน (Government to Business: G2B) เป็นการใ​ห้บ​ ริการ​ภาคธ​ ุรกิจ​เอกชน โดยที่​รัฐ​จะอ​ ำนวย​
ความ​สะดวก​ต่อ​ภาค​ธุรกิจ​และ​อุตสาหกรรม​ให้​สามารถ​แข่งขัน​กัน​โดย​ความเร็ว​สูง มี​ประสิทธิภาพ และ​มี​ข้อมูล​ที่​
ถูก​ต้องอ​ ย่างเ​ป็นธ​ รรมแ​ ละ​โปร่งใส เช่น การจ​ ด​ทะเบียนท​ างการค​ ้า การล​ งทุน และก​ าร​ส่งเ​สริมก​ าร​ลงทุน การ​จัดซ​ ื้อ
จ​ ดั จ​ า้ งท​ างอ​ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การส​ ง่ อ​ อกแ​ ละน​ ำเ​ขา้ การช​ ำระภ​ าษี และก​ ารช​ ว่ ยเ​หลอื ผ​ ปู​้ ระกอบก​ ารข​ นาดก​ ลางแ​ ละข​ นาดเลก็
       3.	 รัฐ กับ รัฐ (Government to Government: G2G) เป็น​รูป​แบบ​การ​ทำงาน​ที่​เปลี่ยนแปลง​ไป​มาก​ของ​
หน่วย​ราชการ ที่ม​ ีก​ าร​เปลี่ยนแปลง​การต​ ิดต่อ​สื่อสาร​ระหว่างก​ ัน​โดย​กระดาษแ​ ละ​ลายเ​ซ็น​ใน​ระบบ​ราชการเ​ดิม ไปเ​ป็น
การใ​ชร้​ ะบบเ​ครือข​ ่ายส​ ารสนเทศ และลายมือช​ ื่ออ​ ิเล็กทรอนิกสเ์​ป็นเ​ครื่องม​ ือใ​นก​ ารแ​ ลกเ​ปลี่ยนข​ ้อมูลอ​ ย่างเ​ป็นท​ างการ
เพื่อ​เพิ่ม​ความเร็ว​ใน​การ​ดำเนิน​การ (economy of speed) ลด​ระยะ​เวลา​ใน​การ​ส่ง​เอกสาร​และ​ข้อมูล​ระหว่าง​กัน
นอกจาก​นั้น​ยัง​เป็น​กา​รบู​รณา​การ​การ​ให้​บริการ​ระหว่าง​หน่วย​งาน​ภาค​รัฐ​โดย​การ​ใช้​การ​เชื่อม​ต่อ​โครง​ข่าย​สารสนเทศ
​เพื่อ​เอื้อ​ให้​เกิด​การ​ทำงาน​ร่วม​กัน (collaboration) และ​การ​แลก​เปลี่ยน​ข้อมูล​ระหว่าง​กัน (government data
exchange) ทั้งนี้ รวม​ไป​ถึงก​ ารเ​ชื่อมโ​ยง​กับร​ ัฐบาลข​ อง​ต่างช​ าติ และ​องค์กร​ปกครองท​ ้องถ​ ิ่น​อีก​ด้วย ระบบง​ านต​ ่างๆ
ที่​ใช้ (back office) ใน​เรื่องน​ ี้ ได้แก่ ระบบ​งานส​ ารบรรณอ​ ิเล็กทรอนิกส์ ระบบบ​ ัญชี​และก​ ารเ​งิน ระบบจ​ ัด​ซื้อ​จัด​จ้าง​
ด้วยอ​ ิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น อย่างไรก​ ด็​ ี จะต​ ้องม​ กี​ ระบวนการใ​นก​ ารล​ ดแ​ รงต​ ่อต​ ้านข​ องบ​ ุคลากรท​ ีค่​ ุ้นเ​คยก​ ับก​ ารท​ ำงาน​
ในร​ ะบบเ​ดิม
       4.	 รฐั กบั ขา้ ราชการแ​ ละพ​ นกั งานข​ องร​ ฐั (Government to Employee: G2E) เป็นการใ​หบ้​ ริการท​ ีจ่​ ำเป็นข​ อง​
พนักงาน​ของ​รัฐ​กับ​รัฐบาล โดยที่​จะ​สร้าง​ระบบ​เพื่อ​ช่วย​ให้​เกิด​เครื่อง​มือ​ที่​จำเป็น​ใน​การ​ปฏิบัติ​งาน และ​การ​ดำรง​ชีวิต
เช่น ระบบ​สวัสดิการ ระบบ​ที่​ปรึกษา​ทาง​กฎหมาย​และ​ข้อ​บังคับ​ใน​การ​ปฏิบัติ​ราชการ ระบบ​การ​พัฒนา​บุคลากร​
ภาค​รัฐ เป็นต้น

                              ลขิ สิทธิข์ องมหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206