Page 202 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 202

11-38 ระบบส​ ำนักงานอ​ ัตโนมัติ​และพ​ าณิชย์อ​ ิเล็กทรอนิกส์

       หลกั ก​ ารใ​นก​ ารด​ ำเนิน​การต​ ามแ​ นวทางการบ​ รกิ ารเ​บด็ เสรจ็ ณ จุด​เดยี ว
       การบ​ ริการ​เบ็ดเสร็จ ณ จุดเ​ดียว (One-Stop Service) เป็นแ​ นวคิดท​ ี่​ต้องการ​อำนวยค​ วาม​สะดวก​ให้แ​ ก่ผ​ ู้​มา​
ติดต่อ​ราชการ​ให้​สามารถ​รับ​บริการ​จาก​หน่วย​งาน​ราชการ​ต่างๆ ได้ ณ ที่​แห่ง​เดียว โดย​ไม่​จำเป็น​ต้อง​ไป​ติดต่อ ณ
ส่วน​ราชการ​ต่างๆ หลาย​แห่ง ซึ่ง​จะ​ทำให้​ประชาชน​ได้​รับ​ความ​สะดวก​สบาย​ใน​การ​ติดต่อ​ราชการ​กับ​ภาค​รัฐ เป็นการ​
ประหยัดเ​วลาแ​ ละค​ ่า​ใช้จ​ ่ายข​ องป​ ระชาชน และย​ ัง​เป็นการล​ ด​ภาระค​ ่า​ใช้​จ่ายข​ อง​ภาคร​ ัฐ โดย​สามารถใ​ช้​บริการร​ ่วมก​ ัน
​ทั้ง​ใน​ด้าน​สถาน​ที่ บุคลากร ตลอด​จน​เครื่อง​มือ​เครื่อง​ใช้​ต่างๆ รวม​ถึง​การ​ใช้​เทคโนโลยี​สารสนเทศ​เพื่อ​บูรณ​า​การ
​ระบบ​งาน​ทะเบียน​ของ​ทุก​หน่วย​เข้า​ด้วย​กัน โดย​หน่วย​งาน​ต่างๆ ที่​ให้​บริการ​ประชาชน​จะ​ต้อง​จัด​ทำ​ระบบ​ฐาน​ข้อมูล
ง​ านท​ ะเบียนข​ องต​ นไ​ว้ใ​นร​ ะบบค​ อมพิวเตอร์ และส​ ามารถเ​ชื่อมร​ ะบบข​ ้อมูลข​ องต​ นเ​ข้าก​ ับข​ ้อมูลข​ องห​ น่วยง​ าน​ อื่นๆ ได้
       นอกจาก​นี้ ยังม​ ี​การจ​ ัด​ทำ​สำนักงาน​บริการ​เสมือน​จริง (virtual service office) ขึ้น เพื่อ​ให้​บริการ​ประชาชน​
ผ่าน​ทาง​ระบบ​อินเทอร์เน็ต ใน​เรื่อง​ที่​สามารถ​ให้​บริการ​ได้​บาง​เรื่อง โดยที่​ประชาชน​สามารถ​ติดต่อ​ขอรับ​บริการ​ได้​
ตลอดเ​วลา (non-stop service) และท​ ุกส​ ถาน​ที่โ​ดย​ไม่​ต้องเ​ดิน​ทาง​มายัง​หน่วยง​ านข​ อง​รัฐ​อีก​ต่อ​ไป
       การนำม​ าป​ ระยกุ ต์​ใช้​ของ​รฐั บาล
       รัฐบาล​มี​เจตนารมณ์​ที่​จะ​เสริม​สร้าง​สังคม​อยู่เย็น​เป็นสุข​ร่วม​กัน เพื่อ​นำ​ไป​สู่​เสถียรภาพ​และ​ประโยชน์​สุข​
ของ​ประชาชน​ชาว​ไทย จึง​มุ่ง​เน้น​ความ​เป็น​อยู่​ของ​ประชาชน​และ​ความ​สงบ​เรียบร้อย​ของ​สังคม โดย​การ​เปิด​โอกาส​ให​้
ประชาชน​มี​ส่วน​ร่วม​กับ​ภาค​รัฐ ใน​การ​เสนอ​เรื่อง​ราว​ร้อง​ทุกข์ การ​แจ้ง​เบาะแส​การก​ระ​ทำ​ผิด​กฎหมาย และ​การ​เสนอ​
ข้อคดิ เ​ห็น ขอ้ เ​สนอแ​ นะ และค​ ำต​ ช​ิ มไ​ดด้​ ้วยต​ นเอง หรอื ผ​ ่านท​ างจ​ ดหมาย โทรศพั ท์ โทรสาร และท​ างเ​ว็บไซต์ ซึ่งเ​ป็นช​ อ่ ง​
ทางการ​ให้​บริการ​ประชาชน​ที่ม​ ีค​ วาม​รวดเร็ว สามารถ​ให้​บริการไ​ด้​ตลอด​เวลา จึง​ได้​มีก​ ารจ​ ัดต​ ั้ง​เว็บไซต์ “www.1111.
go.th” เพื่อ​อำนวย​ความ​สะดวก​แก่​ประชาชน โดย​เรื่อง​ราว​ที่​เสนอ​จะ​ได้​รับ​การ​พิจารณา​และ​แจ้ง​ผล​ให้​ทราบ​ภายใน​
เวลาอ​ ันร​ วดเร็ว
       ปัจจัย​สำคัญข​ องก​ าร​ทำ​รัฐอ​ ิเล็กทรอนิกส์​ที่ร​ ัฐบาลค​ ำนึงถ​ ึง มี​ดังนี้
       1.		ประชาชน คอื ลกู คา้ ​สำคัญ  กล่าวค​ ือ ทำให้​ประชาชน​ได้ร​ ับ​บริการ​ที่ม​ ี​คุณภาพ และต​ รงก​ ับ​ความต​ ้องการ
ข​ องป​ ระชาชน เปน็ ห​ นา้ ทขี​่ องร​ ฐั ท​ จี​่ ะต​ อ้ งใ​หค​้ วามส​ ำคญั ก​ บั ล​ กู คา้ ซึง่ ก​ ค​็ อื ป​ ระชาชนแ​ ละภ​ าคธ​ รุ กจิ ทัง้ นี้ คำว​ า่ “ประชาชน”
ควร​มี​ความ​หมาย​ครอบคลุม​ถึง​ผู้​ด้อย​โอกาส​ใน​สังคม และ​ผู้​ที่​ไม่​ได้​อยู่​ใน​ประเทศ​ด้วย นอกจาก​นี้ ภาค​ธุรกิจ​ก็​นับ​
เป็น​ลูกค้า​สำคัญ​ของ​รัฐ ซึ่ง​ส่วน​หนึ่ง​ใช้​บริการ​ด้าน​ข้อมูล อีก​ส่วน​คือ​การ​เป็น​ผู้​ร่วม​ลงทุน หรือ​ให้​บริการ​แทน​รัฐ​ใน
​ต่างป​ ระเทศ การ​เป็นพ​ ันธ​มิตรก​ ับภ​ าค​เอกชน​เป็น​เรื่อง​ที่​พบเห็นโ​ดย​ทั่วไป มีบ​ ริษัทท​ ี่ใ​ห้​บริการ​แก่​รัฐ​เพื่อส​ นับสนุนง​ าน​
ที่​เป็น​โครงสร้าง​พื้น​ฐาน​ของ​ภาค​รัฐ​หรือ​บาง​ครั้ง​บริษัท​เหล่า​นี้​อาจ​ให้​บริการ​บาง​อย่าง​แก่​ประชาชน​เสีย​เอง​ก็​มี การ​ที่​รัฐ​
ต้อง​เป็น​พันธมิตร​กับ​ภาคเ​อกชน เนื่องจากภ​ าคร​ ัฐม​ ี​ข้อ​จำกัด​ทั้ง​ในแ​ ง่​ของ​กำลัง​คน และแ​ ง่​ของ​การนำ​เสนอเ​ทคโนโลยี​
ใหม่ๆ ซึ่ง​คง​ต้อง​ยอมรับ​ว่า​ภาค​เอกชน​มี​ความ​ก้าวหน้า​กว่า​ภาค​รัฐ​มาก ดัง​นั้น เบื้อง​หลัง​ของ​การ​ให้​บริการ​บน​สื่อ​
อิเล็กทรอนิกส์ คือ การบ​ ริการจ​ าก​ภาค​เอกชนท​ ี่เ​ป็นพ​ ันธมิตร​เกือบท​ ั้ง​สิ้น โดย​ทั้ง​สอง​ฝ่าย​ต่างต​ ้อง​เอื้อ​ประโยชน์ และ​
ทดแทนใ​น​ส่วน​ที่อ​ ีก​ฝ่ายห​ นึ่งไ​ม่มีไ​ด้
       2.	 ข้อมูล  กล่าว​คือ การ​ทำ​อย่างไร​ที่​จะ​ให้​ข้อมูล​ของ​แต่ละ​หน่วย​งาน​สามารถ​แลก​เปลี่ยน​กัน​ได้ แม้ว่า​จะ​มี​
ระบบ​ที่​แตก​ต่าง​กัน​ก็ตาม โดย​ปัจจุบัน มี​การ​พัฒนา​ภาษา​ที่​เรียก​ว่า เอ็กซ์​เอ็ม​แอล (XML: Extensive Markup
Language) ขึ้น เพื่อใ​ห้เ​กิดม​ าตรฐาน​ใน​การแ​ ลก​เปลี่ยน​ข้อมูล โดยที่​หน่วย​งาน​ไม่มี​ความ​จำเป็นต​ ้อง​เปลี่ยน​ระบบไ​ป​
ด้วย XML ใช้ได้ก​ ับ​หน่วยง​ าน​ที่​มี​ระบบค​ อมพิวเตอร์ต​ ่าง​กัน​หรือ​มี​ระบบผ​ สม เช่น มี​ทั้งร​ ะบบไ​คลเ​อน​ต์/เซิร์ฟเวอร์
(client/server application) หรือเ​ป็น​เว็บ​เบส (web-based system) ก็​สามารถใ​ช้ XML ได้

                             ลิขสิทธข์ิ องมหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207