Page 203 - ระบบสำนักงานอัตโนมัติและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
P. 203
การบ ริหารลูกค้าส ัมพันธ์แ ละการบริการแบบเบ็ดเสร็จ 11-39
นอกจากเรื่องมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งต้องการการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานข้อมูลแล้ว เรื่อง
ความปลอดภัยของข้อมูลเป็นประเด็นสำคัญของ e-Government เพราะการให้บริการผ่านทางอินเทอร์เน็ตนั้น
หากป ระชาชนข าดค วามไว้ว างใจในค วามป ลอดภัยข องร ะบบแ ล้ว ประชาชนก ็จ ะไม่ใช้บ ริการ ซึ่งท ำให้เกิดก ารส ูญเปล่า
หรือลงทุนไม่ค ุ้มค ่าได้
3. โครงสรา้ งพนื้ ฐ านสารสนเทศ ได้แก่ โทรศัพท์ โทรสาร และเครือข ่ายโทรคมนาคมท ี่จะเชื่อมโยงให้เกิด
เครือข่ายของภาครัฐและทำให้บริการผ่านอินเทอร์เน็ตเป็นจริง การมีโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศที่พร้อมเป็น
สิ่งสำคัญ เพราะหากไม่ทั่วถึงจะทำให้เกิดช่องว่างระหว่างคนในสังคมและเป็นการสร้างโอกาสให้คนกลุ่มหนึ่ง ขณะที่
ลดโอกาสของค นอ ีกก ลุ่มห นึ่ง
ด้วยเหตุผลน ี้ จึงทำให้เกิดสำนักบ ริการเทคโนโลยีสารสนเทศภาครัฐ (สบท ร.) ซึ่งเป็นห น่วยงานท ี่ให้บ ริการ
แก่ภาคร ัฐ 5 กลุ่มบ ริการ ได้แก่
1) บริการส ื่อสารขั้นต ้น หมายถึง บริการระบบสื่อสารเพื่อเชื่อมต่อเข้าก ับเครือข่ายส ารสนเทศภ าครัฐ
หรือ GINet (Government Information Network) เพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานได้
2) บริการเครือข่าย เป็นการทำงานด้วยเทคโนโลยี Cloud Computing ซึ่งเป็นการนำเครื่องคอม-
พิวเตอร์แม่ข่ายจำนวนมากเชื่อมต่อเข้าด้วยกันเพื่อใช้ทรัพยากรและประมวลผลร่วมกัน ซึ่งคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
ทั้งหมดไม่จำเป็นต้องอยู่ในสถานที่เดียวกัน แต่จะเชื่อมต่อถึงกันด้วยเครือข่ายสื่อสารความเร็วสูง รวมถึงการให้
บริการเสริมบนเครือข่าย เช่น อีเมลที่มีความปลอดภัย ซอฟต์แวร์ และข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
3) บริการงานคอมพิวเตอร์แบบกระจาย หมายถึง บริการเพื่อให้ระบบเครือข่ายระหว่างหน่วยงาน
สามารถท ำงานร่วมกันได้ โดยม ีม าตรฐานของข ้อมูลแ ละการรับส่งเดียวกันและป ลอดภัย
4) บริการงานประยุกต์และสารสนเทศ หมายถึง บริการซอฟต์แวร์สำเร็จรูปและบริการที่ลดความ
ซ้ำซ้อนข องก ารทำงาน เช่น ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
5) บริการส่งงานแก่ผู้ใช้ หมายถึง บริการเพื่อให้หน่วยงานใช้ไอทีเพื่อปรับปรุงการให้บริการแก่
ประชาชน เช่น การออกใบรับร องอ ิเล็กทรอนิกส์ ทำให้ภ าคร ัฐและภ าคเอกชนสามารถท ำธุรกรรมได้อย่างมั่นใจ
การกำหนดวิสัยท ัศน์แ ละแ ผนกลยุทธ์แห่งช าติ มีความจ ำเป็นอ ย่างย ิ่งเพื่อทำให้เกิด e-Government อย่าง
มีท ิศทางแ ละก รอบเวลาท ี่ช ัดเจน ที่ผ ่านม าจ ะเห็นว ่า มีห ลายป ระเทศป ระกาศน โยบาย หรือผ ู้นำอ อกม าแ สดงว ิสัยท ัศน์
เกี่ยวก ับการเป็น e-Government ให้ประชาชนได้รับท ราบ ซึ่งเปรียบเสมือนค ำสัญญาท ี่ภาคร ัฐให้แ ก่ประชาชนว่าจะ
ผลกั ด นั ใหเ้ กดิ บ รกิ ารอ เิ ลก็ ทรอนกิ สใ์ นช ว่ งเวลาใด และจ ะต อ้ งป ฏบิ ตั ใิ หไ้ ดต้ ามน ัน้ ในข ณะเดยี วกนั ห นว่ ยง านร ฐั จ ำเปน็
ที่จ ะต้องมีก รอบกลยุทธ์เพื่อเป็นคู่มือ ทำให้เห็นทิศทางแ ละเป้าห มายข องก ารก้าวไปสู่ e-Government ร่วมก ัน
ทั้งหมดนี้ เพื่อก ารก้าวไปสู่ “การบริหาร” และ “การบริการ” ของภ าคร ัฐต่อประชาชนในร ูปแบบ 4 ท. (4R)
ประกอบด้วย
1) ทเ่ี ดยี ว (red tape reduction) กล่าวค ือ การพ ัฒนา e- Government ทำใหส้ ามารถส ร้างเว็บท ่า (web
portal) ที่ส าม าร ถบ ูรณาก ารบ ริการต ่างๆ ที่เคยอ ยูก่ ระจัดกระจาย มาร วมอ ยูท่ ีเ่ดียวกัน เพื่อใหง้ ่ายต ่อป ระชาชนในก าร
ติดต่อท ี่จอเดียวหรือห น้าต่างเดียวเพื่อบริการเบ็ดเสร็จ
2) ทนั ใด (rapid) กลา่ วค อื รายการท างอ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สามารถท ำไดแ้ ละม กี ารต อบร บั แ บบท นั ทไี มต่ อ้ ง
เสียเวลารอค อยการต อบกลับท างเอกสาร ทำให้ง านต่างๆ ที่ต้องรอค ำต อบนานๆ สามารถได้รับคำต อบในทันทีทันใด
3) ท่ัวไทย (rural area coverage) กล่าวค ือ การใช้เครือข่ายอ ินเทอร์เน็ต ทำให้การเชื่อมโยงป ระชาชน
ชาวไทย ไม่ว ่าอยู่ไหนในโลกให้ส ามารถใช้บริการ e-Government ได้อย่างเท่าเทียมก ันอีกด้วย
ลขิ สิทธขิ์ องมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช