Page 51 - ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 9
P. 51

การบริหารสมรรถนะทรัพยากรบุคคลในองค์การ 9-41

       5.1 	สมรรถนะ น​ ั้นจ​ ะ​ประกอบด​ ้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วน​มอง​เห็น​ได้​ชัด คือ​ทักษะ (Skills) และค​ วาม​รู้
(Knowledge) และ​ส่วน​ที่​ซ่อน​อยู่​ภายใน​หรือ​มอง​ไม่​เห็น คือ​พฤติกรรม (behavior) ที่​สะท้อน​ออก​มา​จาก​
ค่าน​ ิยม (Values) อุปนิสัย (Traits) เจตคติ (Attitude) แรงจ​ ูงใจ (Motive) และ​ส่วน​ประก​ อบ​ อื่นๆ ที่เ​ป็น
Attribute ของ​บุคคล เช่น ภาพล​ ักษณ์ (Self-image) และ​บทบาทท​ าง​สังคม (Social Role) ซึ่ง​ปัจจัย​ภายใน​
ตัวบ​ ุคคลน​ ั้น​จะว​ ัดแ​ ละป​ ระเมินไ​ด้จ​ ากพ​ ฤติกรรมท​ ี่แ​ สดงออก ซึ่งเ​รียกก​ ันว​ ่า KSO/KSA Model ซึ่ง​ประกอบ​
ด้วย Knowledge/Skills and Others (Attributes)

       5.2 	สมรรถนะ​นั้นจ​ ะต​ ้องแ​ สดงออกใ​หเ้​ห็นผ​ ลส​ ำ�เร็จห​ รือผ​ ลง​ าน (outcome) ทีเ่​กิดข​ ึ้นจ​ ากก​ ารแ​ สดง​
พฤติกรรม​ตามส​ มรรถนะ​นั้น

       5.3		ผลง​ าน​นั้นจ​ ะต​ ้อง​สามารถว​ ัด/ประเมินค​ ่า​ได้ (measurement) เพื่อ​แสดงออกถ​ ึง​ความ​สำ�เร็จ​
ใน​งาน

       5.4		สมรรถนะ น​ ั้น​จะ​ต้องเ​ป็น​สิ่ง​ที่​สามารถเ​รียน​รู้ไ​ด้​และพ​ ัฒนาไ​ด้
       จาก​คุณลักษณะ​ของ​สมรรถนะ​ดัง​กล่าว​ใน​การ​จัด​ราย​ละเอียด​ของ​สมรรถนะ​ที่​จะ​นำ�​ไป​ใช้​ใน​การ​วัด​
และ​ประเมิน​ต่อไ​ปจ​ ะต​ ้อง​มีอ​ งค์ป​ ระกอบ ดังนี้

            1) 	ชื่อข​ องส​ มรรถนะ (competency name) ได้แก่ ชื่อท​ ีก่​ ำ�หนดไ​วเ้​พื่อเ​รียกช​ ื่อส​ มรรถนะน​ ั้น
เช่น สมรรถนะ​ความ​คิด​เชิงว​ ิเคราะห์ (Analytical Thinking) สมรรถนะ จรรยาบ​ รรณ และค​ วามซ​ ื่อสัตย์
(ethics and integrity) เป็นต้น

            2) 	คำ�​นิยามส​ มรรถนะ (competency definition) จะเ​ป็นข​ ้อความท​ ี่บ​ อกถ​ ึงค​ วามห​ มายโ​ดย​
รวม​ของ​สมรรถ​นะน​ ั้นๆ ที่ก​ ำ�หนดข​ ึ้น โดยม​ ีพ​ ฤติ​กรร​ ม​หลักๆ ที่​สำ�คัญ พร้อมท​ ั้ง​รายล​ ะเอียด​ของพ​ ฤติกรรม​
ที่ช​ ัดเจนพ​ อส​ มควรเ​พื่อท​ ี่จ​ ะ​วัด​หรือป​ ระเมิน​พฤติกรรมน​ ั้น​ได้​อย่างถ​ ูก​ต้อง

            3) 	ระดับ​ความ​สามารถ (competency proficiency) เป็นการ​กำ�หนด​ถึง​ระดับ​พฤติกรรม​
ที่​แสดงออก​หรือ​ความ​คาด​หวัง​ที่​ต้องการ​ให้​เกิด​ขึ้น ซึ่ง​การ​เขียน​ระดับ​ความ​สามารถ​นี้​ส่วน​ใหญ่ อาจ​เป็น
5 ระดับ เช่น

                 - 	 ขั้นเ​รียนร​ ู้ (basic level)
                 - 	 ขั้นป​ ฏิบัติ (doing level)
                 - 	 ขั้นพ​ ัฒนา (developing level)
                 - 	 ขั้นก​ ้าวหน้า (advanced level)
                 - 	 ขั้นเ​ชี่ยวชาญ (expert level)
            4) 	กำ�หนด​ราย​ละเอียด​ที่​แสดงออก​ใน​พฤติกรรม​ตาม​ระดับ​ความ​สามารถ (Competency
proficiency) เพื่อใ​ช้​เป็น​เกณฑ์​ใน​การ​วัด​พฤติกรรม​ตาม​ระดับ​ต่างๆ ที่​แสดงออก​มา เพื่อ​วัด​ค่า​ได้​ว่า​แสดง​
พฤติกรรมอ​ อก​มา​อยู่ใ​น​ระดับใ​ด
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56