Page 20 - แนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 1
P. 20
1-10 แนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
1) วัตถุประสงค์ของการแนะแนวสำ�หรับนักเรียน ซึ่งเน้นการช่วยให้นักเรียนทุกคนสามารถ
รูจ้ กั และเขา้ ใจตนเอง เสรมิ สรา้ งพฒั นาการแกเ่ ดก็ ทกุ ดา้ น สรา้ งและสง่ เสรมิ บรรยากาศทีด่ ใี นการเรยี นปอ้ งกนั
ปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น และช่วยให้นักเรียนสามารถเผชิญปัญหาหรืออุปสรรคต่างๆ ได้
2) วัตถุประสงค์ของการแนะแนวสำ�หรับผู้ปกครอง ซึ่งเน้นให้ผู้ปกครองรู้จักและเข้าใจเด็ก
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้ปกครองและบุคลากรในโรงเรียนประสานความร่วมมือกันพัฒนาโรงเรียน
ชุมชน และสิ่งแวดล้อม
3) วัตถุประสงค์ของการแนะแนวสำ�หรับครู อาจารย์ โดยเน้นช่วยให้ครู อาจารย์เข้าใจ
ธรรมชาติ สามารถช่วยประสานสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียน บ้าน และชุมชน
โคชาร์ (Kochhar, 1984: 34) ระบุวัตถุประสงค์ของการแนะแนวในโรงเรียนมัธยมศึกษาไว้ดังนี้
1) เพื่อช่วยเหลือนักเรียนด้วยวิธีการที่เป็นวิทยาศาสตร์ให้สามารถปรับตัวในการเรียน ทำ�
กิจกรรมเสริมหลักสูตร ดำ�รงชีวิตในโรงเรียนให้มีผลสูงสุดต่อการพัฒนาสติปัญญา อารมณ์ และกายภาพ
2) เพื่อช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาในด้านต่างๆ
3) เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถเลือกวิชาเรียนได้อย่างเหมาะสม
4) เพื่อช่วยนักเรียนในการเลือกเรียนวิชาชีพ
5) เพื่อช่วยนักเรียนในการวางแผนการเรียนให้เหมาะสมกับตน
6) เพื่อช่วยให้นักเรียนประสบความสำ�เร็จในการเรียนหรือทำ�กิจกรรมต่างๆ
7) เพื่อช่วยให้ครู อาจารย์ สามารถสอนนักเรียนได้ตามต้องการ
ส่วนกรมวิชาการ (2540: 1) ได้กำ�หนดวัตถุประสงค์ของการแนะแนวทั้งในและนอกระบบการศึกษา
ซึ่งกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมผู้เรียนทุกระดับ บุคลากร ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปด้วย ซึ่งมีดังต่อไปนี้
1) รู้จักตนเอง สามารถควบคุมตนเอง และพึ่งตนเองได้ เป็นผู้มีความสุข และมีคุณธรรม
จริยธรรม
2) สามารถเลือกตัดสินใจอย่างมีเหตุผลที่เหมาะสม
3) สามารถวางแผนและจัดการชีวิต การเรียน การงาน และอาชีพอย่างมีคุณภาพ
4) รจู้ กั แสวงหาความรแู้ ละเพมิ่ พนู ทกั ษะเพอื่ พฒั นางานสคู่ วามเปน็ สากลบนพนื้ ฐานของความ
เป็นไทย
5) มีจิตสำ�นึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม รับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่ใน
ครอบครัวและสังคม
จะเหน็ ว่าการระบวุ ตั ถปุ ระสงคข์ องการแนะแนวทีน่ ำ�มากล่าวจาก 3 แหล่งคอ่ นข้างสอดคลอ้ งกันโดย
เฉพาะอย่างยิ่งของกรมวิชาการจะมีความครอบคลุมบุคคลทุกกลุ่ม ทุกวัย ทั้งใน-นอกระบบการศึกษา และ
ยังเป็นการกำ�หนดในบริบทของสังคมไทยอีกด้วย
3.2 เป้าหมายของการแนะแนว เป้าหมายของการแนะแนว คือ การส่งเสริมพัฒนาการของบุคคล
เพื่อทำ�ให้แต่ละคนเข้าใจความสามารถ ความสนใจของตน พัฒนาคนให้ดีที่สุดเท่าที่จะเป็นได้ และนำ�มาใช้
เพือ่ บรรลุเปา้ หมายของชวี ติ และทา้ ยสุดเพื่อภาวะทีส่ มบรู ณ์พรอ้ มและการแนะแนวตนเอง (Kochhar, 1984:
14)