Page 22 - แนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา หน่วยที่ 1
P. 22
1-12 แนวคิดทางการแนะแนวและทฤษฎีการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
รายละเอียดในหน่วยที่ 2 ว่าด้วยเรื่องขอบข่ายและภารกิจงานแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนใน
สถานศึกษา
นอกจากนีใ้ นเรือ่ งแนวคดิ ทางจติ วทิ ยาของสาขาวชิ าตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั การแนะแนวและการปรกึ ษา
เชงิ จติ วทิ ยา และแนวคิดของนักจติ วทิ ยาที่เกีย่ วขอ้ งกบั การแนะแนวและการปรกึ ษาเชิงจติ วทิ ยา ให้นักศึกษา
ไปศึกษารายละเอียดในหน่วยที่ 3
หลงั จากศกึ ษาเนอื้ หาสาระเร่อื งที่ 1.1.1 แล้ว โปรดปฏบิ ัตกิ ิจกรรม 1.1.1
ในแนวการศึกษาหนว่ ยท่ี 1 ตอนท่ี 1.1 เรอ่ื งที่ 1.1.1
เร่ืองท่ี 1.1.2 องคป์ ระกอบของการจดั การงานแนะแนว
ในเรือ่ งองคป์ ระกอบของการจดั การงานแนะแนว ไดน้ �ำ เสนอสาระส�ำ คญั 2 ประเดน็ ไดแ้ ก่ 1) การจดั
องค์กร และการบริหารงานแนะแนว และ 2) การติดตามและการประเมินผลงานแนะแนว โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
1. การจัดองคก์ รและการบรหิ ารงานแนะแนว
1.1 การจัดองค์กรแนะแนว การดำ�เนินงานแนะแนวให้บรรลุผล จำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัย
การมีส่วนร่วมของทุกส่วนในสังคม และเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติงานให้สอดคล้องไปในทิศทาง
เดียวกันอย่างมีคุณภาพ การกำ�หนดโครงสร้างองค์กรและบทบาทหน้าที่จึงเป็นสิ่งสำ�คัญ ซึ่งสามารถทำ�ได้
หลายรปู แบบ โดยคำ�นึงถงึ เป้าหมาย คือผูเ้ รยี น และศักยภาพของสถานศึกษาเป็นหลกั รูปแบบหนึง่ ที่ประสบ
ความสำ�เร็จในการบริหารจัดการ คือ การกำ�หนดองค์กรและคณะกรรมการที่รับผิดชอบการแนะแนว รวมทั้ง
ผู้ปฏิบัติงานจากทุกกลุ่มทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง โดยมีการสร้างเครือข่ายในระดับคณะทำ�งาน และระดับปฏิบัติ
งาน มีการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับทิศทางนโยบาย และแนวทางการดำ�เนินงาน รวมทั้งบทบาทหน้าที่ของ
ทุกฝ่าย ดังแผนภูมิโครงสร้างองค์กรแนะแนวดังนี้