Page 47 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 4
P. 47
การออกแบบการวิจัย 4-37
ระดับนานาชาติของนักเรียนอายุ 15 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มนักเรียนที่ได้รับการศึกษาภาคบังคับของประเทศต่างๆ
การประเมินในปีนี้เน้นการประเมินความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ และการใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์เพื่อ
แกไ้ ขปญั หาและตดั สนิ ใจในชวี ติ ประจ�ำ วนั ดว้ ยการใชค้ วามรูแ้ ละกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ซึง่ เปน็ ทกั ษะที่
จ�ำ เปน็ ตอ่ การใชช้ วี ติ ในสงั คมในอนาคตขา้ งหนา้ ความรูท้ างวทิ ยาศาสตรท์ ี่ PISA ประเมนิ ประกอบดว้ ยทกั ษะ
สามอย่าง คือ ทักษะการระบุประเด็นปัญหา ทักษะการอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ อย่างวิทยาศาสตร์ และการใช้
หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ (Organization for Economic Co-operation and Development [OECD],
2007) นอกจากนี้ ยังมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงบริบทด้านต่างๆ เกี่ยวกับการเรียนสอนวิทยาศาสตร์ของ
ครู รวมถึงปัจจัยอื่นๆ เกี่ยวกับนักเรียน ครอบครัว และโรงเรียนด้วย
นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการประเมินในครั้งนี้มีจำ�นวนรวมทั้งสิ้น 398,750 คน จาก 56 ประเทศ
ทั่วโลก โดยจำ�แนกออกเป็นประเทศสมาชิก OECD จำ�นวน 30 ประเทศ ประเทศที่ไม่ใช่สมาชิก OECD
จำ�นวน 26 ประเทศ สำ�หรับประเทศไทยซึ่งไม่เป็นสมาชิก OECD มีนักเรียนจำ�นวน 6,192 คน จาก 212
โรงเรียนทั่วประเทศ เข้าร่วมการประเมินความสามารถทางวิทยาศาสตร์ในครั้งนี้ ผู้วิจัยเลือกใช้ฐานข้อมูลนี้
เพราะการประเมนิ ในปี พ.ศ. 2549 เนน้ การประเมนิ ความสามารถดา้ นวทิ ยาศาสตรข์ องนกั เรยี น ซึง่ สอดคลอ้ ง
กับวัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ นอกจากนี้ ข้อมูลการประเมิน PISA ปี พ.ศ. 2549 เป็นข้อมูลระดับ
นานาชาติที่ได้เผยแพร่ล่าสุด มีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ดี เป็นระบบ ครอบคลุมประชากรของประเทศต่างๆ
และมีข้อมูล/ตัวแปรสำ�คัญๆ หลายตัวที่สามารถนำ�มาวิเคราะห์ เพื่อให้ได้ข้อมูลสำ�หรับเป็นแนวทางในการ
พัฒนานักเรียนและการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ของประเทศได้เป็นอย่างดี
คุณภาพของสร้างเครื่องมือ การเก็บรวบรวมข้อมูล และคุณภาพของการวัดตัวแปรมีคุณภาพดี
รายงานด้านคุณภาพของการเก็บรวบรวมข้อมูลและคุณภาพของตัวแปรมีรายละเอียดอยู่ที่รายงานด้านวิธี
วิทยาการวิจัย (Organization for Economic Co-operation and Development, 2009) กล่าวโดยสรุป
การดำ�เนินโครงการประเมินประกอบด้วยคณะกรรมการหลายชุด เช่น คณะกรรมการออกแบบ สร้างและ
ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ คณะกรรมการออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล คณะกรรมการเก็บรวบรวม
ข้อมูล คณะกรรมการการวิเคราะห์และกำ�หนดสเกลของตัวแปร การดำ�เนินดังกล่าวมีกฎและระเบียบที่ผู้ที่
เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นตอนของแต่ละประเทศที่เข้าร่วมโครงการต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพื่อให้ข้อมูล
ที่ได้มีความเหมาะสมและยุติธรรม คุณภาพของการเก็บรวบรวมข้อมูลได้รับการตรวจสอบและรับรองโดย
คณะกรรมการดำ�เนินงานของ OECD
ตัวแปรที่ใช้เลือกใช้
ตัวแปรระดับนักเรียนและครอบครัว ประกอบด้วย
1. ความสามารถด้านวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถที่จะใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และ
กระบวนการวทิ ยาศาสตรใ์ นการเขา้ ใจธรรมชาตริ อบตวั และตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา ตวั แปรนีม้ คี า่ ความเทีย่ งเทา่ กบั
.88
2. ความสามารถทางวทิ ยาศาสตรท์ ีส่ งู กวา่ คา่ เฉลีย่ นานาชาติ (HGROUP) เปน็ ตวั แปรทีม่ สี องคา่ คอื
1 และ 0 เมื่อ 1 คือ นักเรียนที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์สูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ และ 0 คือ นักเรียน
ที่มีความสามารถทางวิทยาศาสตร์ตํ่ากว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ เมื่อค่าเฉลี่ยระดับนานาชาติเท่ากับ 500