Page 49 - การวิจัยและสถิติทางการศึกษา หน่วยที่ 6
P. 49
การสร้างเครื่องมือว ัดด้านพุทธิพิสัย 6-39
สูตรในการห าค ่าความย าก p = H+L
NH + NL
เมื่อ p แทน ค่าความย าก
H แทน จำ�นวนผู้ตอบถ ูกในก ลุ่มสูง
L แทน จำ�นวนผู้ตอบถ ูกในกลุ่มตํ่า
NH แทน จำ�นวนผ ู้ส อบทั้งหมดในก ลุ่มสูง
NL แทน จำ�นวนผ ู้ส อบทั้งหมดในกลุ่มต ํ่า
ตัวอย่างที่ 6.11 การหาค่าความยากในกรณีแบ่งเป็นกลุ่มสูงและตํ่า จากการสอบครั้งหนึ่ง พบว่ามี
นักเรียนเข้าส อบ 100 คน เมื่อเรียงลำ�ดับค ะแนนจ ัดเป็นกลุ่มสูงแ ละกลุ่มตํ่าจ ำ�นวนก ลุ่มล ะ 50 คน ข้อสอบ
ข้อท ี่ 1 ปรากฏว่าผู้ส อบในก ลุ่มสูงตอบถูก 30 คน และผ ู้ส อบในกลุ่มตํ่าต อบถูก 25 คน
จงคำ�นวณค่าค วามยากของข ้อสอบข ้อท ี่ 1
จากโจทย์ H = 30, L = 25, NH = 50, NL = 50
แทนค ่า p = H+L
NH + NL
= 30 + 25
50 + 50
= 0.55
ค่าความยากของข้อสอบข้อที่ 1 เท่ากับ 0.55
2) ค่าค วามยากข องแบบทดสอบอิงเกณฑ์ จะใชส้ ตู รการหาเชน่ เดยี วกับก ารหาค า่
ความของแบบทดสอบอิงกลุ่ม รวมท้ังวิธีการหาค่าความยากของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ก็คำ�นวณในลักษณะ
เดียวกับแบบทดสอบอิงกลุ่ม แต่อย่างไรก็ตาม การวิเคราะห์คุณภาพของแบบทดสอบอิงเกณฑ์ไม่เน้นหาค่า
ความย ากของข ้อสอบ เพราะจดุ เนน้ ของแบบทดสอบอิงเกณฑค์ ือ การที่ผู้สอบส ามารถท ำ�ขอ้ สอบได้ถึงเกณฑ์
ที่ก �ำ หนดไวก้ เ็ พยี งพอแลว้
การแ ปลค วามห มายค า่ ค วามย าก ค่าค วามย ากม คี ่าร ะหว่าง 0 ถึง 1 (ถ้าแ ปลงส ัดส่วนเป็น 100 กม็ ีค ่า
ระหว่าง 1–100) ถ้าม ีค ่า 0 แสดงว ่าไม่มีผ ู้ใดต อบข ้อน ั้นถ ูกเลย หมายความว ่าข ้อน ั้นย ากท ี่สุด ถ้าม ีค ่า 1 แสดง
ว่าผู้สอบทำ�ข้อนั้นถูกหมดทุกคน หมายความว่าข้อนั้นง่ายที่สุด เพราะฉะนั้นข้อคำ�ถามใดที่มีผู้ตอบถูกน้อย
แสดงว่าข้อคำ�ถามนั้นยาก และถ้าข้อคำ�ถามใดมีผู้ตอบถูกมากแสดงว่าข้อคำ�ถามนั้นง่าย ตามอุดมคติข้อที่
มีค ่าค วามย ากพอเหมาะ คือ ข้อท ี่มีค่าความยากเท่ากับ 0.5 แต่อย่างไรก ็ตาม การที่จะส ร้างข้อสอบค ำ�ถามที่
มีค่าค วามยากเท่ากับ 0.5 เป็นเรื่องที่ค่อนข้างย าก ฉะนั้น ในก ารพิจารณาค ่าความย ากที่เหมาะส มจึงกำ�หนด
ว่าควรม ีค่าร ะหว่าง 0.2–0.8