Page 38 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย
P. 38
9-28 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย
2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม เป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มเลือกหัวหน้ากลุ่ม กลุ่มละ 1 คน เพื่อเป็นผู้นำ�เริ่ม
ต้นการพูด คำ�คล้องจอง การพูดคำ�คล้องจองโต้ตอบกันภายในกลุ่มของตน โดยครูผู้สอนสังเกต คอยให้คำ�
แนะนำ� และตัดสินความถูกต้องของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
3. ใหน้ กั เรยี นทัง้ 4 กลุม่ รว่ มกนั เลน่ กจิ กรรม “ค�ำ คลอ้ งจอง” ดว้ ยกนั โดยสลบั กนั พดู คำ�คลอ้ งจอง
โดยมีการกำ�หนดความเร็วในการคิดคำ�คล้องจองไม่เกิน 5 วินาที โดยการนับ 1 ถึง 5 โดยประมาณ
กลุม่ ใดตดิ ขดั ไมท่ ันเวลา ให้ตัดคะแนน และใหก้ ลุ่มถัดไปเลน่ ตอ่ ทำ�เชน่ นี้ไปจนครบจ�ำ นวนสมาชกิ
ในกลุ่มทุกคน (หรือกำ�หนดระยะเวลาเป็นเกณฑ์ในการยุติการเล่นก็ได้)
ตัวอย่างเช่น เริ่มจาก
กลุ่ม 1 เริ่มก่อนเช่น ผ้าอยู่บนราว
กลุ่ม 2 อาจต่อว่า ข้าวอยู่ในหม้อ
กลุ่ม 3 อาจต่อว่า ตออยู่ในนํ้า
กลุ่ม 4 อาจต่อว่า ถํ้าอยู่ในเขา ......................ฯลฯ
ความสั้นหรือยาวของคำ�คล้องจองขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้เรียนแต่ละระดับชั้น
กจิ กรรมเพอื่ พฒั นาทกั ษะการอา่ นออกเสยี ง
กิจกรรมที่ 1 “ไชโย ค�ำ พืน้ ฐาน”
ระดบั ช้นั ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1-3
วตั ถุประสงค ์
1. เพื่อให้นักเรียนอ่านคำ�พื้นฐานได้
2. เพื่อให้นักเรียนบอกความหมายของคำ�พื้นฐานที่อ่านออกเสียงได้
สาระหลกั การใชภ้ าษาไทย
1. การอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของคำ�พื้นฐาน
- คำ�ที่มีพยัญชนะและสระที่ไม่ออกเสียง
- คำ�ที่มีพยัญชนะควบกลํ้า
- คำ�ที่มีอักษรนำ�
- คำ�ที่มีตัวการันต์
- คำ�ที่มี รร
- คำ�ที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไม่ตรงตามมาตรา
ฯลฯ