Page 42 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย
P. 42
9-32 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ภาษาไทย
สลาก 1. ค. เคี้ยว กลืน
1. ก. ไม่ไกล ชัด 2. ค. โคนไม้ที่ตัดต้นออกแล้ว, ท่อนไม้ที่มัก
2. ก . ของมีลักษณะเหลวใช้อาบ กิน จมหรือเกือบจมอยู่ใต้ดิน
3. ค. ไม่ไกล
3. ก. จำ�นวนหลัก, ห้าบวกห้า 4. ค. อวัยวะส่วนที่ต่อจากคอขึ้นไป
4. ก. อวัยวะส่วนที่ต่อจากคอขึ้นไป ประกอบด้วย คิ้ว ตา จมูก ปาก
1. ง. สิ่งที่มีรสกร่อย ใช้ทำ�ยาและกัดสิ่งของ
1. ข. ชื่อธาตุมีรสเค็ม 2. ง. โผล่ขึ้น ทะลึ่งขึ้น สูงเด่นขึ้น
2. ข. ผ่อนลง ทรุด หักออก ตํ่าลง 3. ง. อวัยวะของร่างกายที่อยู่ต่อจากแขน
3. ข. หอยโบราณที่ใช้แทนเงิน ใช้หยิบจับของ
4. ง. เครื่องมือใช้ฟัน สับหรือถาก มีรูปร่าง
4. ข. เครื่องมือใช้สำ�หรับสกัดสิ่งของ คล้ายแผนที่ประเทศไทย
วธิ ดี �ำ เนนิ กิจกรรม
1. สนทนากับเด็กเกี่ยวกับคำ�พังเพย (คำ�กล่าวขึ้นมาลอยๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง) ยกตัวอย่าง
คำ�พังเพยให้เด็กอ่านจากแผนภูมิ เช่น
- กว่าถั่วจะสุกงาก็ไหม้
- ความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด
- จับให้มั่น คั้นให้ตาย
- นํ้านิ่งไหลลึก ฯลฯ และให้เด็กบอกคำ�พังเพยที่รู้จัก
2. แบ่งเด็กออกเป็น 6 กลุ่ม แจกตารางสี่เหลี่ยมให้กลุ่มละ 1 แผ่น แจกสลากอธิบายคำ�ศัพท์ให้
กลุ่มละ 1 ชุด
3. อธบิ ายวธิ ีเลน่ พังเพยปรศิ นาโดยให้เดก็ แตล่ ะกลุม่ อา่ นค�ำ อธิบายศพั ท์จากสลาก แล้วคิดคำ�ศพั ท์
เติมลงในช่องตารางตามที่กำ�หนดให้ เช่น 2 ก. ก็เติมแถวที่ 2 ช่อง ก. และบอกว่าเมื่อเติมครบทุกช่องแล้ว
แต่ละแถวจะอ่านเป็นคำ�พังเพยได้ให้เวลาทำ� 15 นาที
4. ให้แต่ละกลุ่มนำ�ตารางที่ทำ�แล้วมาติดบนกระดานดำ� แล้วช่วยกันดูแก้ไขให้ถูกต้อง
5. ให้เด็กอ่านคำ�พังเพยจากตารางแล้วช่วยกันอธิบายความหมาย
6. ช่วยกันสรุปถึงประโยชน์ของการเรียนรู้คำ�ศัพท์ต่อการอ่านและอ่านคำ�พังเพยพร้อมกันอีกครั้ง
กจิ กรรมเพื่อพฒั นาทักษะการเขยี น
ทักษะการเขียนในระดับประถมศึกษาเริ่มต้นจากการฝึกเขียนสะกดคำ� การเขียนสะกดคำ�ถูกต้อง
เป็นทักษะพื้นฐานของการพูดและอ่านที่สำ�คัญและจำ�เป็นในการดำ�รงชีวิตมาก ครูจึงต้องฝึกฝนนักเรียน