Page 76 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 76
10-66 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
6) การให้ความส ำ�คัญก ับการท ำ�ความเข้าใจป ัญหาค ณิตศาสตร์แ ละวางแผนแ ก้ป ัญหา ผู้ส อนต ้อง
เปิดโอกาสให้ผ ู้เรียนวิเคราะห์ปัญหาโดยใช้ค ำ�ถามน ำ� เพื่อให้ผ ู้เรียนสามารถนำ�หลักก ารท างค ณิตศาสตร์และ
ยุทธวิธีแก้ปัญหาที่เป็นวิธีทั่วๆ ไป เช่น การวาดรูปหรือแผนภาพ การคาดเดาและตรวจสอบ มาใช้ร่วมกับ
ความรู้และประสบการณ์เดิมที่ผู้เรียนมี จนเห็นลู่ทางนำ�ไปสู่ผลที่ต้องการ จากนั้นลองปฏิบัติการแก้ปัญหา
แล้วต รวจส อบว ่าน ่าจ ะน ำ�ไปส ู่ค ำ�ตอบห รือไม่ ถ้าไม่ได้ ผู้เรียนเลือกย ุทธวิธีใหม่ ทุกค รั้งท ี่ได้ล องป ฏิบัติก ารแ ก้
ปญั หา ผเู้ รยี นจ ะเกดิ ค วามเขา้ ใจเนือ้ หาบ างเรือ่ งเสมอ ผสู้ อนต อ้ งป ลกู ฝ งั ใหผ้ เู้ รยี นม คี วามค ดิ ย ดื หยุน่ แ ละร ูส้ กึ
สนุกในก ารใชว้ งจรก ารค ิดก ลับไปม าระห ว่างก ารท ำ�ความเข้าใจป ัญหาแ ละก ารว างแผน จนท ้ายท ี่สุดผ ูเ้รียนค ้น
พบห นทางไปส ู่ค ำ�ตอบด ้วยค วามพ ยายามข องต นเอง ผลส ำ�เร็จท ี่เกิดข ึ้นเป็นร างวัลท ี่ช ่วยส ่งเสริมแ รงจ ูงใจใฝ่
สัมฤทธิข์ องผ ูเ้รียน ในก ารส อนแ กป้ ัญหาผ ูส้ อนจ ึงต ้องก ระตุ้นใหผ้ ูเ้รียนใชย้ ุทธวิธคี ิดห ลากห ลาย และต ิดตาม
ตรวจส อบกระบวนการค ิดแ ก้ป ัญหาของตนเอง จนผู้เรียนตระหนักว่า เป็นเรื่องธ รรมดาที่ผู้เรียนไม่ส ามารถ
แก้ป ัญหาห นึ่งๆ ไดใ้นค ราวแ รกท ี่เผชิญป ัญหา ยิ่งผ ู้เรียนได้ป ระสบการณใ์นก ารแ ก้ป ัญหาม าก ย่อมเกิดค วาม
สามารถส ูงขึ้นในการแก้ปัญหา ผู้เรียนย่อมใช้เวลาน ้อยล งในการแ ก้ป ัญหาใหม่ เพราะเห็นความค ล้ายก ันใน
โครงสร้าง หรือเปลี่ยนม ุมมองกับป ัญหาใหม่ได้
7) การเลือกปัญหาค ณิตศาสตร์ให้เหมาะสมก ับผู้เรียน ผู้เรียนมีค วามส ามารถแ ตกต่างก ัน ผู้ส อน
จึงต ้องต รวจส อบค วามร ู้คณิตศาสตร์แ ละประสบการณ์เกี่ยวก ับคณิตศาสตร์ข องผ ู้เรียนท ุกคน และป ระเมิน
ว่าผ ูเ้รียนในช ั้นเรียนท ีส่ อนโดยเฉลี่ยแ ล้วม คี วามร ูค้ วามส ามารถร ะดับไหน เพื่อจ ะไดเ้สนอป ัญหาแ ละช ีแ้ นะได้
อยา่ งเหมาะส มก บั ผ เู้ รยี น ผเู้ รยี นท มี่ พี ืน้ ค วามร นู้ อ้ ยแ ละแ ทบท �ำ ความเขา้ ใจป ญั หาด ว้ ยต นเองไมไ่ ด้ ผสู้ อนต อ้ ง
เสนอป ัญหาและสถานการณ์ปัญหาท ี่เป็นร ูปธรรม เช่น มีสื่อประกอบ เพื่อให้ผ ู้เรียนค ิดแ ก้ปัญหาโดยส ังเกต
จากสื่อนั้น ผู้สอนใช้ค ำ�ถามนำ�หรือชี้แนะท ุกขั้นต อนของกระบวนการแก้ป ัญหา เป็นต้น การเสนอปัญหาแ ละ
ชี้แนะผ ูเ้รียนใหส้ นองค วามแ ตกต ่างร ะหว่างบ ุคคลได้ ย่อมไ มก่ ่อใหเ้กิดผ ลก ารเรียนร ูป้ ระเภท แกป้ ัญหาไมไ่ด้
เลยจ ึงส ่งก ระดาษเปล่าห รือไม่สามารถน ำ�เสนอค วามคิดได้ แต่ผู้เรียนจ ะเกิดผลก ารเรียนร ู้ท ี่เป็นค วามสำ�เร็จ
ตามศักยภาพข องผ ู้เรียน ผู้เรียนย่อมมีความสุขในการแก้ปัญหา
8) ปัญหาและสถานการณ์ปัญหาต้องสะท้อนความคิดรวบยอดและทักษะทางคณิตศาสตร์ที่จะ
สอน การสอนแก้ป ัญหาจึงส ามารถนำ�มาใช้ก ับสภาพก ารเรียนก ารส อนต ามป กติโดยมุ่งเน้นก ารใช้ป ัญหาเป็น
ศูนย์กลาง (problem – centered or problem – based approach to learning) กล่าวคือ การสอนแก้
ปัญหามีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เนื้อหาและทักษะทางคณิตศาสตร์และในขณะเดียวกันได้เรียนรู้ทักษะ
การแ ก้ปัญหาด้วย กระบวนการส อนจึงต ้องส วนท างกับกระบวนการแ บบเดิมท ี่ครูเป็นศูนย์กลาง ดังนี้