Page 83 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 83
การจัดประสบการณก์ ารเรียนรคู้ ณติ ศาสตรโ์ ดยวธิ แี ก้ปญั หา 10-73
คณิตศาสตร์และหลักฐานต่างๆ ที่ผู้เรียนนำ�มาใช้ยืนยันความถูกต้อง เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาความ
สามารถในการตั้งข ้อสงสัย การส ำ�รวจ การร วบรวมข้อมูล การตั้งข้อความคาดก ารณ์ และการใช้เหตุผลแ บบ
นิรนัยกับ หลักฐาน ผลงาน หรือสิ่งแทนความคิดทางคณิตศาสตร์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น การสื่อสารในชั้นเรียน
คณิตศาสตร์จ ะป ระสบผ ลส ำ�เร็จข ึ้นอ ยู่ก ับป ัจจัยส ำ�คัญ 3 ประการ คือ ผู้ส อน ผู้เรียน และเครื่องม ือก ารเรียนร ู้
บทบาทของผ ู้ส อนในการส ื่อสารในชั้นเรียนค ณิตศาสตร์ ผู้ส อนเปลี่ยนบทบาทจากก ารผ ูกขาดก าร
พดู เพือ่ บ รรยายค วามร ู้ แสดงต วั อยา่ ง หรอื เฉลยค �ำ ตอบ มาเปน็ การฟ งั เหตผุ ลข องผ เู้ รยี น ผสู้ อนเปรยี บเสมอื น
ผู้ควบคุมวงดนตรีออเครสตรา ให้ผู้เล่นดนตรีประเภทต่างๆ ร่วมกันบรรเลงเพลงเดียวกันได้อย่างไพเราะ
ผู้ส อนท ำ�หน้าที่เป็นผ ู้ก ระตุ้นให้ผ ู้เรียนม ีส ่วนร ่วมในก ารเรียนร ู้อ ย่างก ระฉับกระเฉง บทบาทข องผ ู้ส อนในก าร
ส่งเสริมก ารส ื่อสารในชั้นเรียนจึงก ระทำ�โดย
- เสนอค ำ�ถาม ปัญหาค ณิตศาสตร์ หรืองานคณิตศาสตร์
- ฟังค วามค ิดทางคณิตศาสตร์ข องผ ู้เรียนอ ย่างตั้งใจและรอบคอบ
- ถามคำ�ถามเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความชัดเจนในความคิดของตนเอง และเพื่อให้ผู้เรียนประเมิน
ความคิดของต นเอง โดยให้พ ูดป ากเปล่าห รือเขียน
- ตัดสินใจว่า ท่ามกลางค วามค ิดต ่างๆ ของผู้เรียน ความค ิดใดถูกต ้องแ ละมีร ายล ะเอียด
- ตัดสินใจว่าเมื่อใดแ ละโดยว ิธีก ารใดท ี่ผู้สอนค วรเชื่อมโยงค วามค ิดของผู้เรียนก ับส ัญลักษณ์แ ละ
ภาษาทางคณิตศาสตร์
- ตัดสินใจว ่าเมื่อใดผ ู้ส อนควรให้ข้อมูลเพิ่มเติม เมื่อใดค วรท ำ�ให้ประเด็นช ัดเจน เมื่อใดควรเสนอ
ตัวแบบท างค ณิตศาสตร์ เมื่อใดควรช ี้นำ�ผู้เรียน เมื่อใดค วรปล่อยให้ผ ู้เรียนเผชิญความย ากของป ัญหา
- ติดตามก ารม ีส ่วนร ่วมในก ารอภิปรายของผู้เรียน และต ัดสินใจว ่า เมื่อใดแ ละอ ย่างไรควรก ระตุ้น
ให้ผู้เรียนแต่ละคนม ีส ่วนร่วม
จากบทบาทของผู้สอนในการส่งเสริมการสื่อสารในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ มีแง่มุมสำ�คัญที่ถือเป็น
ศูนย์กลางของก ารสื่อสาร ได้แก่ 1) การกระตุ้นให้ผ ู้เรียนใช้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ระหว่างแก้ป ัญหา ด้วย
การใช้ค ำ�ถามว ่า ทำ�ไม เพื่อให้ผ ู้เรียนอธิบายห รือให้รายล ะเอียดเพิ่มเติมค วามคิดของเขา ในก ารถามคำ�ถาม
ผู้ส อนต ้องแ สดงค วามเคารพในค วามค ิดข องผ ู้เรียนมากกว่าจ ะถ ามค ำ�ถามเพื่อจ ับผิดห รือต ัดสินว ่า ความค ิด
ของผ ู้เรียนถ ูกต้องหรือไม่ถูกต ้อง 2) ผู้สอนเปลี่ยนบทบาทจากผู้พูด ผู้อธิบาย ผู้แสดงตัวอย่าง และผู้ต ัดสิน
ว่าส ิ่งใดถ ูกต ้องห รือไม่ถ ูกต ้อง มาเป็นการฟ ังผ ู้เรียนอ ธิบาย ผูเ้รียนจ ะเป็นผ ูก้ ระทำ� ผูพ้ ูด ผูอ้ ธิบาย สิ่งท ีผ่ ูส้ อน
ต้องใส่ใจเป็นพ ิเศษ คือ ไมป่ ล่อยใหผ้ ูเ้รียนอ ภิปรายโดยไม่มปี ระเด็น ผูส้ อนต ้องฟ ังอ ย่างต ั้งใจแ ละจ ับป ระเด็น
สำ�คัญ เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติม หรือช ี้นำ�ผู้เรียนได้ ผู้สอนจ ึงต้องมีค วามร ู้อ ย่างด ีในเนื้อหาแ ละกระบวนการ
ทางคณิตศาสตร์และเข้าใจความคิดของผู้เรียน เพื่อตัดสินใจว่าสิ่งใดที่ผู้สอนควรปล่อยให้ผู้เรียนกระทำ�
ด้วยตนเองหรือด้วยกลุ่มย่อยของเขา และสิ่งใดที่ผู้สอนควรให้ข้อมูลเพิ่มเติม 3) ผู้สอนต้องติดตามและ
จัดการให้ผู้เรียนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาทั้งการแก้ปัญหาเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม ผู้สอนต้อง
สังเกตว่า ผูเ้รียนค นใดอ าสาท ีจ่ ะพ ูด ผูเ้รียนค นใดไมพ่ ูด ผูเ้รียนส ามารถบ ันทึกห รือเขียนส ิ่งท ีเ่ขาค ิดไดห้ รือไม่