Page 58 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์
P. 58
6-48 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้คณิตศาสตร์ a B (B)
D C (A)
h
A b C (C)
a B (D)
ภาพท ี่ 6.16 (2) รปู สเ่ี หลย่ี มคางหมู ABCD
พื้นที่ร ูปสี่เหลี่ยมคางหมู ABCD = 1 ของพ ื้นที่รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ACBD
2
= 12 × h × (a + b)
ครูควรจัดป ระสบการณ์ให้นักเรียนได้ส ร้างรูปส ี่เหลี่ยมคางหมูในห ลายๆ ลักษณะ และใช้หลักก าร
เดียวกันในการหาพื้นที่ ซึ่งจ ะได้ผ ลในทำ�นองเดียวกัน จึงส รุปได้ว่า
พน้ื ทรี่ ูปส ่เี หลีย่ มค างหม ู = 12 × ความส ูง × ผลบ วกของความย าวของดา้ นคขู่ นาน
การหาพ้ืนท่ีของรูปสเี่ หลย่ี มด ้านไม่เทา่
พิจารณาร ูปส ี่เหลี่ยมด ้านไม่เท่า ABCD ซึ่งม ีค วามย าวข องเส้นท แยงม ุมเส้นห นึ่งค ือ c เส้นท แยงม ุม
เส้นนี้ย่อมแบ่งรูปสี่เหลี่ยมด้านไม่เท่า ABCD ออกเป็นรูปสามเหลี่ยมสองรูปโดยมีเส้นทแยงมุม BD เป็น
ฐ านข องร ปู ส ามเหลีย่ ม ถา้ ใชห้ ลกั ก ารเดยี วกนั ในก ารห าพ ืน้ ทขี่ องร ปู ส เี่ หล ยี่ มอ ืน่ ๆ คอื น ำ�เอาพ ืน้ ทรี่ ปู ส ามเหลีย่ ม
ที่ประกอบกันเป็นรูปสี่เหลี่ยมมารวมกัน สิ่งที่ขาดหายไปจนทำ�ให้ไม่สามารถหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมได้
คือ ส่วนสูงของรูปสามเหลี่ยม ดังนั้น จึงจำ�เป็นต้องลากส่วนของเส้นตรงจากมุมยอดของรูปสามเหลี่ยม
แต่ละรูปมาตั้งฉากกับฐาน BD โดยกำ�หนดให้มีความยาวเป็น a และ b ส่วนของเส้นตรงทั้งสองเส้นนี้จะ
ทำ�ห น้าที่สองอย่างคือ เป็นส่วนสูงของรูปสามเหลี่ยมและเป็นเส้นกิ่งของรูปสี่เหลี่ยม (เส้นกิ่งคือ เส้นที่ลาก
จากม ุมของร ูปส ี่เหลี่ยมท ี่อ ยู่ต รงข ้ามก ันม าตั้งฉ ากก ับเส้นทแยงม ุม) ดังแสดงในภ าพที่ 6.17